การศึกษา 4
----------------------------------------------------------
........กรอบแนวคิดในการจัดการความรู้ สามารถแบ่งได้เป็น 3 รูปแบบ
........1. แนว Prescriptive เป็นการจัดการความรู้ตามพัฒนาการของการจัดการความรู้ ได้แก่
........1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification)
........2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition)
........3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization)
........4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement)
........5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access)
........6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing)
........7. การเรียนรู้ (Learning)
........8. การประเมินผล
---------------------------------------------------------
........2.แนว Descriptive เป็นการจัดการความรู้ตามปัจจัยหรือสิ่งสำคัญที่องค์กรต้องการให้สำเร็จ มีองค์ประกอบ 3 ประการ
........กำหนดเป้าหมาย หรือสิ่งสำคัญที่องค์กรต้องทำให้สำเร็จ
........กำหนดปัจจัยสนับสนุนที่จะทำให้การจัดการความรู้ดำเนินการอย่างราบรื่น ได้แก่วัฒนธรรมองค์กร เทคโนโลยี การสื่อสาร/ โครงสร้างองค์กรที่เอื้อต่อการจัดการความรู้ การวัดผลการจัดการความรู้
........การสร้างกระบวนการเปลี่ยนแปลง ได้แก่ การวางแผน To be vs as is การออกแบบบทบาทหน้าที่ เครื่องมือที่เกี่ยวข้อง การจัดทำแผนงาน การนำไปปฏิบัติ การนำร่อง การดำเนินการตามแผน การขยายผลไปในองค์กร การฝึกอบรมและการเรียนรู้
----------------------------------------------------------
........3.แนวผสมผสาน ระหว่างแนว Prescriptive และแนว Descriptive กระบวนการจัดการความรู้ ประกอบด้วย
........1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification)
........2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition)
........3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization)
........4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement)
........5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access)
........6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing)
........7. การเรียนรู้ (Learning)
วันอังคารที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2558
การศึกษา 5
การศึกษา 5
-------------------------------------------------------------
รายละเอียดของแต่ขั้นตอนในกระบวนการจัดการความรู้ มีดังต่อไปนี้
-------------------------------------------------------------
........ ขั้นตอนที่ 1 “การบ่งชี้ความรู้” (Knowledge Identification) หมายถึง การบ่งชี้ความรู้ที่ผู้เรียนจำเป็นต้องมี วิเคราะห์รูปแบบ และแหล่งความรู้ที่มีอยู่ โดยดูว่าเราต้องมีความรู้เรื่องอะไร และเรามีความรู้เรื่องนั้นแล้วหรือยัง เพื่อหาว่าความรู้ใดมีความสำคัญสำหรับผู้เรียน จัดลำดับ ความสำคัญของความรู้เหล่านั้น เพื่อให้ผู้เรียนวางขอบเขตของการจัดการความรู้ และสามารถจัดสรรทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
-------------------------------------------------------------
........ ขั้นตอนที่ 2 “การสร้างและแสวงหาความรู้” (Knowledge Creation and Acquisition) หมายถึง การสำรวจ/วิเคราะห์ว่าความรู้ที่เราต้องการรู้นั้นอยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร แล้วจะนำมาเก็บรวมกันได้อย่างไรโดยการค้นคว้าจากตำรา อินเตอร์เน็ต จากการสัมภาษณ์ผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ จากภายในและภายนอกเพื่อนำมาจัดทำเนื้อหาให้ตรงกับความต้องการ
-------------------------------------------------------------
........ ขั้นตอนทื่ 3 “การจัดความรู้ให้เป็นระบบ” (Knowledge Organization) หมายถึง การนำความรู้ที่รวบรวมมาจัดหมวดหมู่ แบ่งประเภทของความรู้เพื่อจัดทำให้ง่าย เป็นระบบ สะดวกต่อการค้นหาและใช้งาน
-------------------------------------------------------------
........ ขั้นตอนที่ 4. “การประมวลและกลั่นกรองความรู้” (Knowledge Codification and Refinement) หมายถึง การนำความรู้นั้นมาจัดทำรูปแบบและ “ภาษา” ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยการประมวลความรู้ให้อยู่ในรูปแบบและภาษาที่เข้าใจง่าย และใช้ได้ง่ายพร้อมทั้งเรียบเรียงและปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย เข้าใจง่ายและสมบูรณ์ตรงกับความต้องการของผู้ที่จะเข้ามาศึกษาและค้นคว้า
-------------------------------------------------------------
........ ขั้นตอนที่ 5. “การเข้าถึงความรู้” (Knowledge Access) หมายถึง การนำความรู้ที่ผ่านการประมวลและกลั่นกรองเรียบร้อยแล้ว มาจัดการเผยแพร่ เพื่อดูว่าคนในสังคมแห่งการเรียนรู้ สามารถเข้าถึงความรู้ได้อย่างสะดวก รวดเร็วและง่ายหรือไม่ และสามารถนำมาใช้ได้ในเวลาที่ต้องการ เช่น การจัดทำเว็บจดหมายเวียน บอร์ดประชาสัมพันธ์ เสียงตามสาย Intranet ของผู้เรียน
-------------------------------------------------------------
........ ขั้นตอน 6. “การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้” (Knowledge Sharing) หมายถึง การนำความรู้นั้นมาแบ่งปัน โดยใช้เครื่องมือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ เช่น การจัดทำเอกสาร การจัดทำฐานความรู้ ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ระบบพี่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน รวมถึงการจัดทำเอกสาร จัดทำฐานความรู้ การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้จะช่วยให้เข้าถึงความรู้ได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น
-------------------------------------------------------------
........ ขั้นตอน 7. “การเรียนรู้” (Learning) หมายถึง การเรียนรู้โดยมีนัยคือ Learning by doing ว่า ความรู้ที่จำเป็นซึ่งถูกบ่งชี้หรือกำหนดไว้ในขั้นตอนที่ 1 นั้น ได้ถูกนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน การตัดสินใจ และนำมาช่วยในการแก้ปัญหา เพื่อปรับปรุงการเรียนให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนหรือไม่ ทำให้ผู้เรียนดีขึ้นหรือไม่
-------------------------------------------------------------
รายละเอียดของแต่ขั้นตอนในกระบวนการจัดการความรู้ มีดังต่อไปนี้
-------------------------------------------------------------
........ ขั้นตอนที่ 1 “การบ่งชี้ความรู้” (Knowledge Identification) หมายถึง การบ่งชี้ความรู้ที่ผู้เรียนจำเป็นต้องมี วิเคราะห์รูปแบบ และแหล่งความรู้ที่มีอยู่ โดยดูว่าเราต้องมีความรู้เรื่องอะไร และเรามีความรู้เรื่องนั้นแล้วหรือยัง เพื่อหาว่าความรู้ใดมีความสำคัญสำหรับผู้เรียน จัดลำดับ ความสำคัญของความรู้เหล่านั้น เพื่อให้ผู้เรียนวางขอบเขตของการจัดการความรู้ และสามารถจัดสรรทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
-------------------------------------------------------------
........ ขั้นตอนที่ 2 “การสร้างและแสวงหาความรู้” (Knowledge Creation and Acquisition) หมายถึง การสำรวจ/วิเคราะห์ว่าความรู้ที่เราต้องการรู้นั้นอยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร แล้วจะนำมาเก็บรวมกันได้อย่างไรโดยการค้นคว้าจากตำรา อินเตอร์เน็ต จากการสัมภาษณ์ผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ จากภายในและภายนอกเพื่อนำมาจัดทำเนื้อหาให้ตรงกับความต้องการ
-------------------------------------------------------------
........ ขั้นตอนทื่ 3 “การจัดความรู้ให้เป็นระบบ” (Knowledge Organization) หมายถึง การนำความรู้ที่รวบรวมมาจัดหมวดหมู่ แบ่งประเภทของความรู้เพื่อจัดทำให้ง่าย เป็นระบบ สะดวกต่อการค้นหาและใช้งาน
-------------------------------------------------------------
........ ขั้นตอนที่ 4. “การประมวลและกลั่นกรองความรู้” (Knowledge Codification and Refinement) หมายถึง การนำความรู้นั้นมาจัดทำรูปแบบและ “ภาษา” ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยการประมวลความรู้ให้อยู่ในรูปแบบและภาษาที่เข้าใจง่าย และใช้ได้ง่ายพร้อมทั้งเรียบเรียงและปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย เข้าใจง่ายและสมบูรณ์ตรงกับความต้องการของผู้ที่จะเข้ามาศึกษาและค้นคว้า
-------------------------------------------------------------
........ ขั้นตอนที่ 5. “การเข้าถึงความรู้” (Knowledge Access) หมายถึง การนำความรู้ที่ผ่านการประมวลและกลั่นกรองเรียบร้อยแล้ว มาจัดการเผยแพร่ เพื่อดูว่าคนในสังคมแห่งการเรียนรู้ สามารถเข้าถึงความรู้ได้อย่างสะดวก รวดเร็วและง่ายหรือไม่ และสามารถนำมาใช้ได้ในเวลาที่ต้องการ เช่น การจัดทำเว็บจดหมายเวียน บอร์ดประชาสัมพันธ์ เสียงตามสาย Intranet ของผู้เรียน
-------------------------------------------------------------
........ ขั้นตอน 6. “การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้” (Knowledge Sharing) หมายถึง การนำความรู้นั้นมาแบ่งปัน โดยใช้เครื่องมือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ เช่น การจัดทำเอกสาร การจัดทำฐานความรู้ ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ระบบพี่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน รวมถึงการจัดทำเอกสาร จัดทำฐานความรู้ การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้จะช่วยให้เข้าถึงความรู้ได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น
-------------------------------------------------------------
........ ขั้นตอน 7. “การเรียนรู้” (Learning) หมายถึง การเรียนรู้โดยมีนัยคือ Learning by doing ว่า ความรู้ที่จำเป็นซึ่งถูกบ่งชี้หรือกำหนดไว้ในขั้นตอนที่ 1 นั้น ได้ถูกนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน การตัดสินใจ และนำมาช่วยในการแก้ปัญหา เพื่อปรับปรุงการเรียนให้ดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนหรือไม่ ทำให้ผู้เรียนดีขึ้นหรือไม่
การศึกษา 6
การศึกษา 6
------------------------------------------------------------
ทักษะการสรุปบทเรียน
........ การสรุปบทเรียนเป็นการที่ผู้เรียนพยายามรวบรวมความคิด ความเข้าใจของตนเองจากการเรียนรู้ที่ผ่านมา ว่าได้สาระสำคัญ หลักเกณฑ์ หลักการ หรือแนวคิดสำคัญในช่วงการเรียนนั้นอย่างไรบ้าง
........ ทั้งนี้เพื่อผู้เรียนจะได้รับประเด็นสำคัญของบทเรียนได้ถูกต้องว่ามีอะไรบ้าง และจะนำความรู้ใหม่ไปสัมพันธ์กับความรู้เดิมได้อย่างไร
-------------------------------------------------------------
เทคนิคการสรุปบทเรียน
........ 1.สรุปโดยอธิบายสั้นๆ ชัดเจน ทบทวนสาระสำคัญที่เรียนมา
........ 2.สรุปโดยอุปกรณ์หรือรูปภาพประกอบ
........ 3.สรุปโดยสนทนาซักถาม
........ 4.สรุปโดยสร้างสถานการณ์
........ 5.สรุปโดยนิทานหรือสุภาษิต
........ 6.สรุปโดยการปฎิบัติ
........ 7.สรุปโดยใช้เทคโนโลยีการนำเสนอในรูปแบบต่างๆ เช่น บล๊อค ไซต์ เพื่อนำเสนอองค์ความรู้ ที่เป็นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ตัวอักษร วีดีโอ วีดีทัศน์ เสียง
------------------------------------------------------------
ทักษะการสรุปบทเรียน
........ การสรุปบทเรียนเป็นการที่ผู้เรียนพยายามรวบรวมความคิด ความเข้าใจของตนเองจากการเรียนรู้ที่ผ่านมา ว่าได้สาระสำคัญ หลักเกณฑ์ หลักการ หรือแนวคิดสำคัญในช่วงการเรียนนั้นอย่างไรบ้าง
........ ทั้งนี้เพื่อผู้เรียนจะได้รับประเด็นสำคัญของบทเรียนได้ถูกต้องว่ามีอะไรบ้าง และจะนำความรู้ใหม่ไปสัมพันธ์กับความรู้เดิมได้อย่างไร
-------------------------------------------------------------
เทคนิคการสรุปบทเรียน
........ 1.สรุปโดยอธิบายสั้นๆ ชัดเจน ทบทวนสาระสำคัญที่เรียนมา
........ 2.สรุปโดยอุปกรณ์หรือรูปภาพประกอบ
........ 3.สรุปโดยสนทนาซักถาม
........ 4.สรุปโดยสร้างสถานการณ์
........ 5.สรุปโดยนิทานหรือสุภาษิต
........ 6.สรุปโดยการปฎิบัติ
........ 7.สรุปโดยใช้เทคโนโลยีการนำเสนอในรูปแบบต่างๆ เช่น บล๊อค ไซต์ เพื่อนำเสนอองค์ความรู้ ที่เป็นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ตัวอักษร วีดีโอ วีดีทัศน์ เสียง
เหลียงหวงเป่าชั่น เล่มที่ 4 หน้า 285
เหลียงหวงเป่าชั่น เล่มที่ 4 หน้า 285
----------------------------------------------------------------------
ถ้าใครเคยอ่านแล้วทำความเข้าใจถึงตอนนี้ของเหลียงหวงเป่าชั่น 顯果報 หรือ การปรากฏผลของอกุศลวิบาก ตอนหนึ่งที่จะยกมา
----------------------------------------------------------------------
........คือในสมัยหนึ่ง เป็นกาลศาสนาของพระพุทธเจ้ากัสสปะ มีพระภิกษุรูปหนึ่งชื่อว่า “กบิล” เป็นพหูสูต แตกฉานในพระไตรปิฎก เป็นผู้มีบริวารมาก มีลาภสักการะมากมาย
........แต่มีความหยิ่งทระนงในองค์ความรู้ที่ตัวเองมี ถือว่าเป็นผู้ฉลาด แต่ภิกษุรูปนี้เป็นผู้หย่อนในธรรมวินัย
........นานวันเข้าภิกษุรูปนี้ก็เกิดความมัวเมาในความรู้ ความเป็นพหูสูตของคน และตั้งตัวเป็นผู้วินิจฉัยความผิดถูกต่างๆ กลับดีเป็นชั่ว กลับชั่วเป็นดี
----------------------------------------------------------------------
........ดังที่ในเหลียงหวงกล่าวไว้ว่า “善說不善....不善說善” ภิกษุทั้งหลายก็ออกปากเตือน แต่กบิลภิกษุมีทิฐิมานะไม่สนใจจะฟัง
........ดังที่พระพุทธเจ้าศากยมุนีกล่าวไว้ใน กปิลสูตร ขอยกมาสองตอนดังนี้
----------------------------------------------------------------------
........พระกปิละนั้นมีบริวาร เพราะอาศัยปริยัติ เพราะอาศัยบริวาร ลาภก็เกิดขึ้น พระกปิละนั้นเมาด้วยการเมาในการที่ตนเป็นพาหุสัจจะ ศำคัญตนว่าเป็นบัณฑิต มีความสำคัญว่าตนรู้ แม้ในสิ่งที่ตนยังไม่รู้
........กล่าวสิ่งที่เป็นกัปปิยะ ที่ภิกษุเหล่าอื่นกล่าวแล้วว่าเป็นอกัปปิยะ คือเป็นสิ่งที่ไม่สมควร
........กล่าวสิ่งที่สมควรว่าไม่สมควร แม้สิ่งที่เป็นอกัปปิยะก็กล่าวว่าเป็นกัปปิยะ แม้สิ่งที่มีโทษก็กล่าวว่าไม่มีโทษ แม้สิ่งที่ไม่มีโทษก็กล่าวว่ามีโทษ
----------------------------------------------------------------------
อีกตอนหนึ่งจากพระสูตร
----------------------------------------------------------------------
........ภิกษุทั้งหลายที่มีศีลเป็นที่รักก็ทอดทิ้งพระกปิละนั้นเสีย. พระกปิละนั้นเป็นผู้ประพฤติชั่ว มีภิกษุประพฤติชั่วแวดล้อมอยู่
........วันหนึ่งคิดว่า เราจะลงอุโบสถ แล้วก็ขึ้นสู่อาสนะอันประเสริฐ จับพัดอันวิจิตร พอนั่งลงก็พูดขึ้น ๓ ครั้งว่าอาวุโสทั้งหลาย ปาติโมกข์ย่อมควรแก่ภิกษุทั้งหลายในที่นี้หรือ.
........ครั้งนั้น แม้ภิกษุรูปหนึ่งก็ไม่ได้พูดว่า ปาติโมกข์ย่อมควรแก่ข้าพเจ้า ทั้งก็ไม่ได้พูดว่า ปาติโมกข์ย่อมควรแก่พระกปิละนั้น หรือแก่ภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น.
........ลำดับนั้น พระกปิละนั้นก็พูดว่า เมื่อปาติโมกข์พวกเราฟังก็ดี ไม่ฟังก็ดี ชื่อว่าวินัยไม่มีหรอก ดังนี้ แล้วก็ลุกขึ้นจากอาสนะ.
........พระกปิละนั้น ทำพระศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระนามว่ากัสสปะให้เสื่อมถอย คือ ให้พินาศแล้วด้วยประการฉะนี้.
----------------------------------------------------------------------
......ในกาลต่อมา ท่านพระโสธนเถระก็ปรินิพพานในวันนั้นนั่นเอง พระกปิละ นั้นก็มรณะแล้วก็บังเกิดในอเวจีมหานรก มารดาและน้องสาวของท่านที่มีความเห็นตามท่าน และด่าบริภาษภิกษุทั้งหลายที่มีศีลเป็นที่รัก เมื่อสิ้นชีวิตแล้วก็เกิดในนรก.
----------------------------------------------------------------------
ข้อความในพระสูตรที่พระศากยมุนีได้แสดงไว้ดังนี้
----------------------------------------------------------------------
........พระกบิลภิกษุมรณภาพ ด้วยวิบากแห่งความเห็นผิด และหย่อนในพระธรรมวินัย ประพฤติผิดในทำนองคลองธรรม เป็นเหตุให้ไปเกิดในอเวจีมหานรกหนึ่งพุทธันดร
........หลั.จากนั้นจึงไปเกิดในภูมิเดรัจฉาน โดยไปเกิดเป็นปลาทอง ปลา กบิลนี้แม้จะมีรูปลักษณ์ที่สวยงาม มีสีทองเหลืองอร่าม
........แต่ปากของปลานี้มีกลิ่นเหม็นมาก เหม็นตลบไปทั้งพระนคร พระบรมศาสดาจึงทรงรับสั่งว่า
........ปลานี้เมื่อก่อนเคยเป็นภิกษุชื่อว่า กบิล เป็นพหูสูตมีบริวารมาก แต่ประพฤติย่อหย่อนในพระธรรมวินัย ในศาสนาของพระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจ้า ครั้นรับสั่งดังนั้นแล้วจึงตรัสกปิลสูตร ขอยกมาส่วนหนึ่งดังนี้
----------------------------------------------------------------------
........พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า มหาบพิตร ปลานี้เป็นภิกษุพหูสูต ผู้เรียนจบปริยัติ ชื่อว่ากปิละ ในพระศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่ากัสสปะ
........เป็นผู้ด่าบริภาษภิกษุทั้งหลายซึ่งไม่เชื่อถ้อยคำของตน เป็นผู้ทำศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าให้เสื่อมไป
........เพราะกรรมที่เธอทำพระศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นให้เสื่อมไป เธอจึงบังเกิดในอเวจีมหานรก
........และก็มาเกิดเป็นปลาในบัดนี้ด้วยเศษแห่งวิบาก ด้วยผลอันไหลออกแห่งกรรมที่เธอได้กล่าวพุทธพจน์ สรรเสริญพระพุทธคุณเป็นเวลานาน
........เธอจึงได้วรรณะเช่นนี้ เพราะเหตุที่เธอได้ด่าบริภาษภิกษุทั้งหลาย กลิ่นเหม็นจึงฟุ้งออกจากปากของปลานั้น.
----------------------------------------------------------------------
ถ้าใครเคยอ่านแล้วทำความเข้าใจถึงตอนนี้ของเหลียงหวงเป่าชั่น 顯果報 หรือ การปรากฏผลของอกุศลวิบาก ตอนหนึ่งที่จะยกมา
----------------------------------------------------------------------
........คือในสมัยหนึ่ง เป็นกาลศาสนาของพระพุทธเจ้ากัสสปะ มีพระภิกษุรูปหนึ่งชื่อว่า “กบิล” เป็นพหูสูต แตกฉานในพระไตรปิฎก เป็นผู้มีบริวารมาก มีลาภสักการะมากมาย
........แต่มีความหยิ่งทระนงในองค์ความรู้ที่ตัวเองมี ถือว่าเป็นผู้ฉลาด แต่ภิกษุรูปนี้เป็นผู้หย่อนในธรรมวินัย
........นานวันเข้าภิกษุรูปนี้ก็เกิดความมัวเมาในความรู้ ความเป็นพหูสูตของคน และตั้งตัวเป็นผู้วินิจฉัยความผิดถูกต่างๆ กลับดีเป็นชั่ว กลับชั่วเป็นดี
----------------------------------------------------------------------
........ดังที่ในเหลียงหวงกล่าวไว้ว่า “善說不善....不善說善” ภิกษุทั้งหลายก็ออกปากเตือน แต่กบิลภิกษุมีทิฐิมานะไม่สนใจจะฟัง
........ดังที่พระพุทธเจ้าศากยมุนีกล่าวไว้ใน กปิลสูตร ขอยกมาสองตอนดังนี้
----------------------------------------------------------------------
........พระกปิละนั้นมีบริวาร เพราะอาศัยปริยัติ เพราะอาศัยบริวาร ลาภก็เกิดขึ้น พระกปิละนั้นเมาด้วยการเมาในการที่ตนเป็นพาหุสัจจะ ศำคัญตนว่าเป็นบัณฑิต มีความสำคัญว่าตนรู้ แม้ในสิ่งที่ตนยังไม่รู้
........กล่าวสิ่งที่เป็นกัปปิยะ ที่ภิกษุเหล่าอื่นกล่าวแล้วว่าเป็นอกัปปิยะ คือเป็นสิ่งที่ไม่สมควร
........กล่าวสิ่งที่สมควรว่าไม่สมควร แม้สิ่งที่เป็นอกัปปิยะก็กล่าวว่าเป็นกัปปิยะ แม้สิ่งที่มีโทษก็กล่าวว่าไม่มีโทษ แม้สิ่งที่ไม่มีโทษก็กล่าวว่ามีโทษ
----------------------------------------------------------------------
อีกตอนหนึ่งจากพระสูตร
----------------------------------------------------------------------
........ภิกษุทั้งหลายที่มีศีลเป็นที่รักก็ทอดทิ้งพระกปิละนั้นเสีย. พระกปิละนั้นเป็นผู้ประพฤติชั่ว มีภิกษุประพฤติชั่วแวดล้อมอยู่
........วันหนึ่งคิดว่า เราจะลงอุโบสถ แล้วก็ขึ้นสู่อาสนะอันประเสริฐ จับพัดอันวิจิตร พอนั่งลงก็พูดขึ้น ๓ ครั้งว่าอาวุโสทั้งหลาย ปาติโมกข์ย่อมควรแก่ภิกษุทั้งหลายในที่นี้หรือ.
........ครั้งนั้น แม้ภิกษุรูปหนึ่งก็ไม่ได้พูดว่า ปาติโมกข์ย่อมควรแก่ข้าพเจ้า ทั้งก็ไม่ได้พูดว่า ปาติโมกข์ย่อมควรแก่พระกปิละนั้น หรือแก่ภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น.
........ลำดับนั้น พระกปิละนั้นก็พูดว่า เมื่อปาติโมกข์พวกเราฟังก็ดี ไม่ฟังก็ดี ชื่อว่าวินัยไม่มีหรอก ดังนี้ แล้วก็ลุกขึ้นจากอาสนะ.
........พระกปิละนั้น ทำพระศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระนามว่ากัสสปะให้เสื่อมถอย คือ ให้พินาศแล้วด้วยประการฉะนี้.
----------------------------------------------------------------------
......ในกาลต่อมา ท่านพระโสธนเถระก็ปรินิพพานในวันนั้นนั่นเอง พระกปิละ นั้นก็มรณะแล้วก็บังเกิดในอเวจีมหานรก มารดาและน้องสาวของท่านที่มีความเห็นตามท่าน และด่าบริภาษภิกษุทั้งหลายที่มีศีลเป็นที่รัก เมื่อสิ้นชีวิตแล้วก็เกิดในนรก.
----------------------------------------------------------------------
ข้อความในพระสูตรที่พระศากยมุนีได้แสดงไว้ดังนี้
----------------------------------------------------------------------
........พระกบิลภิกษุมรณภาพ ด้วยวิบากแห่งความเห็นผิด และหย่อนในพระธรรมวินัย ประพฤติผิดในทำนองคลองธรรม เป็นเหตุให้ไปเกิดในอเวจีมหานรกหนึ่งพุทธันดร
........หลั.จากนั้นจึงไปเกิดในภูมิเดรัจฉาน โดยไปเกิดเป็นปลาทอง ปลา กบิลนี้แม้จะมีรูปลักษณ์ที่สวยงาม มีสีทองเหลืองอร่าม
........แต่ปากของปลานี้มีกลิ่นเหม็นมาก เหม็นตลบไปทั้งพระนคร พระบรมศาสดาจึงทรงรับสั่งว่า
........ปลานี้เมื่อก่อนเคยเป็นภิกษุชื่อว่า กบิล เป็นพหูสูตมีบริวารมาก แต่ประพฤติย่อหย่อนในพระธรรมวินัย ในศาสนาของพระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจ้า ครั้นรับสั่งดังนั้นแล้วจึงตรัสกปิลสูตร ขอยกมาส่วนหนึ่งดังนี้
----------------------------------------------------------------------
........พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า มหาบพิตร ปลานี้เป็นภิกษุพหูสูต ผู้เรียนจบปริยัติ ชื่อว่ากปิละ ในพระศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่ากัสสปะ
........เป็นผู้ด่าบริภาษภิกษุทั้งหลายซึ่งไม่เชื่อถ้อยคำของตน เป็นผู้ทำศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าให้เสื่อมไป
........เพราะกรรมที่เธอทำพระศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นให้เสื่อมไป เธอจึงบังเกิดในอเวจีมหานรก
........และก็มาเกิดเป็นปลาในบัดนี้ด้วยเศษแห่งวิบาก ด้วยผลอันไหลออกแห่งกรรมที่เธอได้กล่าวพุทธพจน์ สรรเสริญพระพุทธคุณเป็นเวลานาน
........เธอจึงได้วรรณะเช่นนี้ เพราะเหตุที่เธอได้ด่าบริภาษภิกษุทั้งหลาย กลิ่นเหม็นจึงฟุ้งออกจากปากของปลานั้น.
เปรตทาน การให้ทานแก่เปรต ผีอดอยาก
เปรตทาน การให้ทานแก่เปรต ผีอดอยาก
-----------------------------------------------------------------
.........1/ พระอาจารย์เหลียนฉือชี้แนะแก่ผู้ทำซือสือ(อุทิศอาหารแก่วิญญาณ)ว่า ไม่ควรปฏิบัติเป็นของเล่น
.........มิเช่นนั้น หากภูติผีเกิดจิตโทสะ อาจเอาถึงชีวิตได้ ภพภูมิของวิญญาณและคนแตกต่างกัน
.........ผีไม่สนใจว่าเธอจะเป็นยังไง หากเธอไม่สามารถทำให้เขาสยบได้ ผีก็ไม่เกรงใจเธอเช่นกัน
.........หากทำซือสือเพียงแค่เรื่องพิธีการบังหน้า ใจไม่มีมหาเมตตามหากรุณา ก็ยังเป็นการลบหลู่ธรรมะอีกด้วย
.........จะไม่ให้ภูตผีเขาคับแค้นใจได้อย่างไร พึงระลึกว่าการทำซือสือนั้น เป็นเพื่อการให้เขาเหล่านั้นหลุดพ้นจากความทุกข์
.........หากไม่จริงใจ ไม่เกิดสมาธิ ความคิดไม่ศรัทธาสำรวม แล้วจะให้เทพเทวาธรรมบาล สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายปกปักรักษาช่วยเหลือได้อย่างไร
-----------------------------------------------------------------
.........2/ อย่านึกว่าภูตผีนั้นหลอกได้ง่ายนะ บุญกรรมของคนกับผีนั้นก็ไม่ต่างกันนัก ต่างกันเพียงสภาวะของจิต ณ ขณะหนึ่งเท่านั้นเอง
.........หากขณะทำพิธีมักคิดนึกไปถึงเรื่องอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง (ก็เหมือน) มีกุญแจเหล็กมาปิดล๊อคกระแสสมาธิ ทำให้เหล่าผีไม่สามารถรับอาหารนั้นได้
.........อย่างเช่นมีพระรูปหนึ่งเช่นกัน ขณะทำพิธีกลับไปนึกถึงเสื้อผ้าที่ตากไว้ตอนฝนตกอยู่ ทำให้เกิดความคิดฟุ้งซ่านขึ้นขณะทำพิธี จึงได้รับกรรมสนอง
.........กรรมที่สนองในชาตินี้เปรียบเหมือนกับ คนเราทำความชั่ว หากผลกรรมยังไม่สุกงอม ก็ยังไม่ได้รับผลกรรมนั้นๆ
.........แต่ภพภูมิวิญญาณไม่ใช่เช่นนั้น พวกเขามีอยู่จริง และอยู่ใกล้รายรอบคนเราอีกด้วย
.........กรรมที่เกี่ยวข้องกับวิญญาณจึงสนองรวดเร็วมาก สุดท้ายมีพระภิกษุรูปหนึ่งเห็นภาพพระสงฆ์มากมายในสมาธิถูกจองจำในคุกมืด ด้วยใบหน้าทุกข์ตรม
.........พอได้ถามจึงรู้ว่า เป็นพระที่ทำซือสือแล้วไม่สำรวมศรัทธา และคิดฟุ้งซ่านมากรับกรรมนั่นเอง
-----------------------------------------------------------------
.........3/ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ตั้งใจทำซือสือใหม่ๆ อย่าได้เพ่งมโนภาพจนเกินไป ต้องค่อยๆเพ่ง
.........เพียงขอให้ระลึกได้ถึงความทุกข์ความโศกเศร้าของเขาเหล่านั้นเป็นที่ตั้ง
.........หนึ่งวันของภูมิมนุษย์เท่ากับ สองพันปีของภพวิญญาณ พวกเขาได้แต่หิวโหยแต่ไม่ตาย
.........ได้แต่ทนทุกข์ทรมานทุกๆเวลา มิอาจหยุดพัก จิตฟุ้งซ่านและอัตตาของเราจะทำให้เขาไม่สามารถรับอานิสงค์ต่างๆได้
.........แต่หากเราบังเกิดใจเมตตากรุณาและปณิธานที่จะฉุดช่วย ก็มีโอกาสทำให้เขาได้ไปเกิดยังภพภูมิที่ดียิ่งขึ้นได้
.........อาจจะได้ไปเกิดยังแดนสุขาวดีก็เป็นได้เช่นกัน ขอให้ตั้งจิตมั่นกล้าทำเปรตพลีซือสือนี้เถิด
.........การปฏิบัติของเธอกับพระโพธิสัตว์นั้นก็ไม่แตกต่าง พุทธะโพธิสัตว์ทั้งหลาย
.........เทพพรหมธรรมบาลทุกเหล่าต่างอนุโมทนาแก่เธอ ต้องเชื่อมั่นในตน เชื่อในในพระธรรม
-----------------------------------------------------------------
.........4/ พระอาจารย์เหลียนฉือมักนำตัวอย่างของพระสงฆ์มาแสดง ที่ต่างจากเราท่านทั้งหลาย เพราะอะไรหรือ?
.........เพราะว่าพระผู้ทำพิธีเปรตพลี เป็นตัวแทนถือบาตรและจีวรของพระตถาคตเจ้า
.........หากสงฆ์เหล่านั้นไม่เคารพสำรวมต่อพระรัตนตรัย มิศรัทธาจริงต่อธรรมะ ฉะนั้นผลกรรมจึงหนักมาก
.........ในทางกลับกัน ในส่วนฆราวาสทั้งหลาย เพียงแค่การบังเกิดจิตทำการเปรตพลีซือสือก็นับว่ายิ่งใหญ่มากแล้ว
.........เราอาจจะต้องเผชิญกับความกลัว ความกังวล เริ่มมีจิตฟุ้งซ่าน พุทธะโพธิสัตว์ทั้งหลายนั้นก็เข้าใจและให้อภัยเราได้
.........ยิ่งไปกว่านั้นพระองค์อาจจะเกื้อหนุนให้เราได้สงบจิตสงบใจได้มากขึ้น ให้เราเกิดวิริยะมากขึ้น ยิ่งปฏิบัติก็ยิ่งถูกต้องมากขึ้น .........อาตมามีความคิดเช่นนี้ ตั้งแต่อาตมาทำซือสือมา ก็เคยเกิดความฟุ้งซ่านขึ้นในจิต แต่อาตมามักจะรู้สึกว่าพวกเขาเมตตากรุณามากกว่าอาตมาเสียอีก พวกเขาล้วนเข้าใจตัวอาตมามากกว่าตัวเองเสียอีก
-----------------------------------------------------------------
.........5/ พวกเราเป็นคนธรรมดา มิใช่พระ เป็นคนธรรมดาที่ได้บังเกิดจิตปณิธานแห่งมหายานธรรม
.........ถึงแม้การศึกษาธรรมะของเรายังไม่กลมสมบูรณ์ ยังโง่เขลาอยู่ แต่อาตมาเชื่อมา พุทธะโพธิวัตว์ทั้งหลายจะช่วยเหลือพวกเรา ไม่ละทิ้งเด็ดขาด
.........จุดนี้ถือว่าสำคัญมาก พระกษิครรภ์โพธิสัตว์เคยช่วยเหลืออาตมาหลายครั้ง หนึ่งในนั้นคือ ขณะทำซือสือนั่นเอง
.........ก่อนจะทำพิธี อาตมาก็วอนขอพระองค์ฯ หรือกระทั่งตอนสวดแผ่บุญกุศลก็มักอธิษฐานว่า ขอให้พุทธะโพธิสัตว์ทั้งหลาย เทพนาคราชทั้งแปดฝ่าย ช่วยให้การซือสือเรียบร้อยสมบูรณ์ ไร้อุปสรรคใดๆ
.........หรือขอให้พระโพธิสัตว์ทั้งปวงชำระบาปทั้งสามของอาตมาให้บริสุทธิ์ ซือสือไร้อุปสรรคใดๆ
.........จากนั้นก็ทำตามพิธีกำหนดก็เป็นอันใช้ได้แล้ว หากขณะทำพิธีเกิดผิดพลาดบ้าง เช่นลืมดีดนิ้วเจ็ดครั้ง หรือลืมบทมนต์บางบท นั่นเป็นเพราะเราเกิดจิตฟุ้งซ่าน เกิดความกลัวกังวลขึ้นนั่นเอง
.........แต่ขอให้วางใจ สิ่งนี่ไม่ได้ทำให้เรานั้นประสบเหตุเภทภัยใดๆหรอก
-----------------------------------------------------------------
.........6/ ปัญหาต่างๆ เกิดเพราะใจของเรา ต้องเริ่มแก้ไขจากความคิด อย่ารีบร้อนเพ่งมโนภาพ อย่าลังเลสงสัยว่าจะสัมฤทธิ์ผลหรือไม่ ทำถูกหรือไม่ เป็นต้น
.........เธออาจจะเพ่งมองภาพของพระอมิตตาภพุทธเจ้าสม่ำเสมอ น้อมนำภาพพระองค์ประทับไว้ในจิต ในความคิด
.........ขณะทำพิธีให้นึกว่ารัศมีของพระองค์อยู่เบื้องหน้า รอบกายเป็นดอกบัวมากมาย
.........การมโนภาพเช่นนี้ช่วยให้สรรพสัตว์ทั้งหกภูมิได้รับการฉุดโปรดหลุดพ้น พวกเขาเหล่านั้นจะหลุดพ้นได้เพราะกำลังมโนภาพของเธอนั้นเอง จะต้องไม่ลังเลสงสัย
-----------------------------------------------------------------
.........7/ ในการสวดพระนาม ให้นึกภาพสี่พระพุทธะได้แปรสิ่งที่ไม่งาม ให้กลายเป็นสิ่งสวยงามน่าชม
.........จากเล็กแปรเป็นใหญ่ ไร้เมตตาก็แปรเป็นมหาเมตตา โลภะ เปลี่ยนเป็น เสียสละปล่อยวาง เป็นต้น...
.........นอกจากนั้น ก่อนทำซือสือควรแปรงฟันให้สะอาดหมดจด ของใช้ในพิธีห้ามใช้เป็นของตนเอง
.........หลายๆ ครั้งอาตมาลืมล้างมือแปรงฟัน อาตมาจึงน้อมกราบพระโพธิสัตว์ทั้งหลายชำระกรรมทั้งสามให้บริสุทธิ์เสียก่อน
.........การนอบน้อมเคารพถือเป็นเรื่องสำคัญ จะต้องนอบน้อมเคารพสรรพสัตว์ทั้งหกภพภูมิ ด้วยจิตที่เคารพดั่งเคารพพ่อแม่และพระพุทธะโพธิสัตว์เช่นกัน
.........ไม่แตกต่าง หากใจของเธอเสมอภาคแล้ว สงบแล้ว นอบน้อมสำรวมแล้ว ก็จะทำพิธีได้ดี
.........หากมีกิจธุระไม่สามารถซือสือได้ ก็อย่าได้กังวลใจเกินไป จงจำไว้ว่าจะต้องรักษาใจให้สงบผ่อนคลาย
.........หากเธอสงบแล้ว บรรดาดวงจิตทั้งหลายก็จะยิ่งปีติสุขในสิ่งที่เธอนั้นได้ประพฤติปฏิบัติดีแล้วนั่นเอง
-----------------------------------------------------------------
.........1/ พระอาจารย์เหลียนฉือชี้แนะแก่ผู้ทำซือสือ(อุทิศอาหารแก่วิญญาณ)ว่า ไม่ควรปฏิบัติเป็นของเล่น
.........มิเช่นนั้น หากภูติผีเกิดจิตโทสะ อาจเอาถึงชีวิตได้ ภพภูมิของวิญญาณและคนแตกต่างกัน
.........ผีไม่สนใจว่าเธอจะเป็นยังไง หากเธอไม่สามารถทำให้เขาสยบได้ ผีก็ไม่เกรงใจเธอเช่นกัน
.........หากทำซือสือเพียงแค่เรื่องพิธีการบังหน้า ใจไม่มีมหาเมตตามหากรุณา ก็ยังเป็นการลบหลู่ธรรมะอีกด้วย
.........จะไม่ให้ภูตผีเขาคับแค้นใจได้อย่างไร พึงระลึกว่าการทำซือสือนั้น เป็นเพื่อการให้เขาเหล่านั้นหลุดพ้นจากความทุกข์
.........หากไม่จริงใจ ไม่เกิดสมาธิ ความคิดไม่ศรัทธาสำรวม แล้วจะให้เทพเทวาธรรมบาล สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายปกปักรักษาช่วยเหลือได้อย่างไร
-----------------------------------------------------------------
.........2/ อย่านึกว่าภูตผีนั้นหลอกได้ง่ายนะ บุญกรรมของคนกับผีนั้นก็ไม่ต่างกันนัก ต่างกันเพียงสภาวะของจิต ณ ขณะหนึ่งเท่านั้นเอง
.........หากขณะทำพิธีมักคิดนึกไปถึงเรื่องอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง (ก็เหมือน) มีกุญแจเหล็กมาปิดล๊อคกระแสสมาธิ ทำให้เหล่าผีไม่สามารถรับอาหารนั้นได้
.........อย่างเช่นมีพระรูปหนึ่งเช่นกัน ขณะทำพิธีกลับไปนึกถึงเสื้อผ้าที่ตากไว้ตอนฝนตกอยู่ ทำให้เกิดความคิดฟุ้งซ่านขึ้นขณะทำพิธี จึงได้รับกรรมสนอง
.........กรรมที่สนองในชาตินี้เปรียบเหมือนกับ คนเราทำความชั่ว หากผลกรรมยังไม่สุกงอม ก็ยังไม่ได้รับผลกรรมนั้นๆ
.........แต่ภพภูมิวิญญาณไม่ใช่เช่นนั้น พวกเขามีอยู่จริง และอยู่ใกล้รายรอบคนเราอีกด้วย
.........กรรมที่เกี่ยวข้องกับวิญญาณจึงสนองรวดเร็วมาก สุดท้ายมีพระภิกษุรูปหนึ่งเห็นภาพพระสงฆ์มากมายในสมาธิถูกจองจำในคุกมืด ด้วยใบหน้าทุกข์ตรม
.........พอได้ถามจึงรู้ว่า เป็นพระที่ทำซือสือแล้วไม่สำรวมศรัทธา และคิดฟุ้งซ่านมากรับกรรมนั่นเอง
-----------------------------------------------------------------
.........3/ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ตั้งใจทำซือสือใหม่ๆ อย่าได้เพ่งมโนภาพจนเกินไป ต้องค่อยๆเพ่ง
.........เพียงขอให้ระลึกได้ถึงความทุกข์ความโศกเศร้าของเขาเหล่านั้นเป็นที่ตั้ง
.........หนึ่งวันของภูมิมนุษย์เท่ากับ สองพันปีของภพวิญญาณ พวกเขาได้แต่หิวโหยแต่ไม่ตาย
.........ได้แต่ทนทุกข์ทรมานทุกๆเวลา มิอาจหยุดพัก จิตฟุ้งซ่านและอัตตาของเราจะทำให้เขาไม่สามารถรับอานิสงค์ต่างๆได้
.........แต่หากเราบังเกิดใจเมตตากรุณาและปณิธานที่จะฉุดช่วย ก็มีโอกาสทำให้เขาได้ไปเกิดยังภพภูมิที่ดียิ่งขึ้นได้
.........อาจจะได้ไปเกิดยังแดนสุขาวดีก็เป็นได้เช่นกัน ขอให้ตั้งจิตมั่นกล้าทำเปรตพลีซือสือนี้เถิด
.........การปฏิบัติของเธอกับพระโพธิสัตว์นั้นก็ไม่แตกต่าง พุทธะโพธิสัตว์ทั้งหลาย
.........เทพพรหมธรรมบาลทุกเหล่าต่างอนุโมทนาแก่เธอ ต้องเชื่อมั่นในตน เชื่อในในพระธรรม
-----------------------------------------------------------------
.........4/ พระอาจารย์เหลียนฉือมักนำตัวอย่างของพระสงฆ์มาแสดง ที่ต่างจากเราท่านทั้งหลาย เพราะอะไรหรือ?
.........เพราะว่าพระผู้ทำพิธีเปรตพลี เป็นตัวแทนถือบาตรและจีวรของพระตถาคตเจ้า
.........หากสงฆ์เหล่านั้นไม่เคารพสำรวมต่อพระรัตนตรัย มิศรัทธาจริงต่อธรรมะ ฉะนั้นผลกรรมจึงหนักมาก
.........ในทางกลับกัน ในส่วนฆราวาสทั้งหลาย เพียงแค่การบังเกิดจิตทำการเปรตพลีซือสือก็นับว่ายิ่งใหญ่มากแล้ว
.........เราอาจจะต้องเผชิญกับความกลัว ความกังวล เริ่มมีจิตฟุ้งซ่าน พุทธะโพธิสัตว์ทั้งหลายนั้นก็เข้าใจและให้อภัยเราได้
.........ยิ่งไปกว่านั้นพระองค์อาจจะเกื้อหนุนให้เราได้สงบจิตสงบใจได้มากขึ้น ให้เราเกิดวิริยะมากขึ้น ยิ่งปฏิบัติก็ยิ่งถูกต้องมากขึ้น .........อาตมามีความคิดเช่นนี้ ตั้งแต่อาตมาทำซือสือมา ก็เคยเกิดความฟุ้งซ่านขึ้นในจิต แต่อาตมามักจะรู้สึกว่าพวกเขาเมตตากรุณามากกว่าอาตมาเสียอีก พวกเขาล้วนเข้าใจตัวอาตมามากกว่าตัวเองเสียอีก
-----------------------------------------------------------------
.........5/ พวกเราเป็นคนธรรมดา มิใช่พระ เป็นคนธรรมดาที่ได้บังเกิดจิตปณิธานแห่งมหายานธรรม
.........ถึงแม้การศึกษาธรรมะของเรายังไม่กลมสมบูรณ์ ยังโง่เขลาอยู่ แต่อาตมาเชื่อมา พุทธะโพธิวัตว์ทั้งหลายจะช่วยเหลือพวกเรา ไม่ละทิ้งเด็ดขาด
.........จุดนี้ถือว่าสำคัญมาก พระกษิครรภ์โพธิสัตว์เคยช่วยเหลืออาตมาหลายครั้ง หนึ่งในนั้นคือ ขณะทำซือสือนั่นเอง
.........ก่อนจะทำพิธี อาตมาก็วอนขอพระองค์ฯ หรือกระทั่งตอนสวดแผ่บุญกุศลก็มักอธิษฐานว่า ขอให้พุทธะโพธิสัตว์ทั้งหลาย เทพนาคราชทั้งแปดฝ่าย ช่วยให้การซือสือเรียบร้อยสมบูรณ์ ไร้อุปสรรคใดๆ
.........หรือขอให้พระโพธิสัตว์ทั้งปวงชำระบาปทั้งสามของอาตมาให้บริสุทธิ์ ซือสือไร้อุปสรรคใดๆ
.........จากนั้นก็ทำตามพิธีกำหนดก็เป็นอันใช้ได้แล้ว หากขณะทำพิธีเกิดผิดพลาดบ้าง เช่นลืมดีดนิ้วเจ็ดครั้ง หรือลืมบทมนต์บางบท นั่นเป็นเพราะเราเกิดจิตฟุ้งซ่าน เกิดความกลัวกังวลขึ้นนั่นเอง
.........แต่ขอให้วางใจ สิ่งนี่ไม่ได้ทำให้เรานั้นประสบเหตุเภทภัยใดๆหรอก
-----------------------------------------------------------------
.........6/ ปัญหาต่างๆ เกิดเพราะใจของเรา ต้องเริ่มแก้ไขจากความคิด อย่ารีบร้อนเพ่งมโนภาพ อย่าลังเลสงสัยว่าจะสัมฤทธิ์ผลหรือไม่ ทำถูกหรือไม่ เป็นต้น
.........เธออาจจะเพ่งมองภาพของพระอมิตตาภพุทธเจ้าสม่ำเสมอ น้อมนำภาพพระองค์ประทับไว้ในจิต ในความคิด
.........ขณะทำพิธีให้นึกว่ารัศมีของพระองค์อยู่เบื้องหน้า รอบกายเป็นดอกบัวมากมาย
.........การมโนภาพเช่นนี้ช่วยให้สรรพสัตว์ทั้งหกภูมิได้รับการฉุดโปรดหลุดพ้น พวกเขาเหล่านั้นจะหลุดพ้นได้เพราะกำลังมโนภาพของเธอนั้นเอง จะต้องไม่ลังเลสงสัย
-----------------------------------------------------------------
.........7/ ในการสวดพระนาม ให้นึกภาพสี่พระพุทธะได้แปรสิ่งที่ไม่งาม ให้กลายเป็นสิ่งสวยงามน่าชม
.........จากเล็กแปรเป็นใหญ่ ไร้เมตตาก็แปรเป็นมหาเมตตา โลภะ เปลี่ยนเป็น เสียสละปล่อยวาง เป็นต้น...
.........นอกจากนั้น ก่อนทำซือสือควรแปรงฟันให้สะอาดหมดจด ของใช้ในพิธีห้ามใช้เป็นของตนเอง
.........หลายๆ ครั้งอาตมาลืมล้างมือแปรงฟัน อาตมาจึงน้อมกราบพระโพธิสัตว์ทั้งหลายชำระกรรมทั้งสามให้บริสุทธิ์เสียก่อน
.........การนอบน้อมเคารพถือเป็นเรื่องสำคัญ จะต้องนอบน้อมเคารพสรรพสัตว์ทั้งหกภพภูมิ ด้วยจิตที่เคารพดั่งเคารพพ่อแม่และพระพุทธะโพธิสัตว์เช่นกัน
.........ไม่แตกต่าง หากใจของเธอเสมอภาคแล้ว สงบแล้ว นอบน้อมสำรวมแล้ว ก็จะทำพิธีได้ดี
.........หากมีกิจธุระไม่สามารถซือสือได้ ก็อย่าได้กังวลใจเกินไป จงจำไว้ว่าจะต้องรักษาใจให้สงบผ่อนคลาย
.........หากเธอสงบแล้ว บรรดาดวงจิตทั้งหลายก็จะยิ่งปีติสุขในสิ่งที่เธอนั้นได้ประพฤติปฏิบัติดีแล้วนั่นเอง
ประชานิยมระดับประถม
ประชานิยมระดับประถม
--------------------------------------------------------------------
........ประชานิยมที่สมคิดเอามาเล่นอยู่นี้เป็นประชานิยมขั้นประถมของนายกทักษิณ
........ถ้าติดตามเรื่องนโยบายของพรรคไทยรักไทย มาถึงพรรคเพื่อไทย ในแง่เศรษฐกิจจะเห็น ความเข้มข้นมากขึ้นมาเรื่อยๆ
........เริ่มต้นด้วยกองทุนหมู่บ้าน SML พักหนี้เกษตกร และอื่นๆ เป็นขั้นประถม
........ลำดับต่อมาในยุครัฐบาลยิ่งลักษณ์กับนโยบาย เรื่องบัตรเครดิตเกษตกร รถยนต์คันแรก จำนำข้าว ค่าแรง300 บาทและอื่นๆ เป็นขั้นมัธยม
........มาถึงโครงการเม็กกะโปรเจคที่เตรียมการไว้ ได้แก่รถไฟความเร็วสูง โครงการจัดการน้ำ ทั้งระบบ โครงการรถไฟรางคู่ ขยายสนามบินสุวรรณภูมิ
........ล้วนเป็นนโยบายที่ใช้เงินจำนวนมาก และพลิกประเทศไทย และส่งผลให้เป็นพรรคการเมืองที่ได้รับความนิยมอย่างยาวนานแน่นอน
........ถ้าปล่อยให้พรรคเพื่อไทยทำสำเร็จ ซึ่งนโยบายเหล่านี้ถือได้ว่าเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจระดับเข้มข้นมาก สมกับชัยภูมิศูนย์กลางของ อาเซี่ยน และก้าวเป็นผู้นำแห่งอาเซี่ยนในทางยุทธศาสตร์ และในอนาคต
--------------------------------------------------------------------
........จะเห็นได้ว่าการกระตุ้นเศรษฐกิจของพรรคเพื่อไทยตอบโจทย์ประเทศ เหมือนละลอกคลื่น ถาโถมสู่เศรษฐกิจประเทศอย่างเป็นน้ำ
เป็นเนื้อ
........ส่งผลการเปลี่ยนแปลงประเทศทั้งทางกายภาพ คือเกิดสาธรณูปโภค ตึกอาคารบ้านจัดสรร กระจายความเติบโตตามหัวเมือง ใหญ่เส้นทางรถไฟความเร็วสูง
........เกิดการลงทุนทั้งภายในและต่างประเทศอย่างมหาศาล มีการสร้างงาน มีอาชีพ ลดช่องว่างทางสังคม การท่องเที่ยวเติบโตเป็นร้อยเปอร์
เซนต์ รัฐจัดเก็บภาษีได้มากเป็นเท่าตัวปี งบประมาณก็ขยายขึ้น
........รายได้ที่เศรษฐกิจเติบโตขนาดนี้ จึงเป็นคำตอบได้ดีว่าหนี้ที่ลงทุนกับ
เม็กกะโปรเจ็คที่กล่าวหาว่าจะเป็นภาระลูกหลานไทยนั้นไม่เป็นความจริง
........เพราะจะมีเงินที่จัดเก็บได้จากฐานภาษีที่ใหญ่ขึ้นเป็นเท่าตัว มาใช้หนี้คืนได้อย่างแน่นอน
----------------------------------------------------------------
........ส่วนคุณสมคิดจะมาแก้ปัญหาด้วยประชานิยมระดับประถม ก็มิอาจส่งผลให้เศรษฐกิจไทยฟื้นตัวได้อย่างแน่นอน
........เพราะเป็นกระตุ้นที่น้อยเกินไปกับภาวะเศรษฐกิจโลก และการแอนตี้จากโลกเสรีเพราะเรากลายเป็นเผด็จการในประชาธิปไตยไปแล้ว
........ทำให้มีปัญหาเรื่องการส่งออกเรื่องการลงทุนจากต่างประเทศ เพียงแค่รักษาทุนเดิมก็แย่อยู่แล้ว
........รัฐบาลเผด็จการเป็นตัวปัญหาหลักของความเชื่อมั่นทั้งหลายทั้งปวง เป็นจิตวิทยาที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจ
........มันจึงเป็นจุดสลบของเศรษฐกิจประเทศไทย ไม่ใช่คุณสมคิดไม่มี
ฝีมือ จึงกล้าฟันธงว่าจะไปไม่รอด
........คนไทยเราปล่อยโอกาสความรุ่งเรืองหลุดลอยไปแล้ว.....แค่หูเบา เท่านั้นเอง
--------------------------------------------------------------------
........ประชานิยมที่สมคิดเอามาเล่นอยู่นี้เป็นประชานิยมขั้นประถมของนายกทักษิณ
........ถ้าติดตามเรื่องนโยบายของพรรคไทยรักไทย มาถึงพรรคเพื่อไทย ในแง่เศรษฐกิจจะเห็น ความเข้มข้นมากขึ้นมาเรื่อยๆ
........เริ่มต้นด้วยกองทุนหมู่บ้าน SML พักหนี้เกษตกร และอื่นๆ เป็นขั้นประถม
........ลำดับต่อมาในยุครัฐบาลยิ่งลักษณ์กับนโยบาย เรื่องบัตรเครดิตเกษตกร รถยนต์คันแรก จำนำข้าว ค่าแรง300 บาทและอื่นๆ เป็นขั้นมัธยม
........มาถึงโครงการเม็กกะโปรเจคที่เตรียมการไว้ ได้แก่รถไฟความเร็วสูง โครงการจัดการน้ำ ทั้งระบบ โครงการรถไฟรางคู่ ขยายสนามบินสุวรรณภูมิ
........ล้วนเป็นนโยบายที่ใช้เงินจำนวนมาก และพลิกประเทศไทย และส่งผลให้เป็นพรรคการเมืองที่ได้รับความนิยมอย่างยาวนานแน่นอน
........ถ้าปล่อยให้พรรคเพื่อไทยทำสำเร็จ ซึ่งนโยบายเหล่านี้ถือได้ว่าเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจระดับเข้มข้นมาก สมกับชัยภูมิศูนย์กลางของ อาเซี่ยน และก้าวเป็นผู้นำแห่งอาเซี่ยนในทางยุทธศาสตร์ และในอนาคต
--------------------------------------------------------------------
........จะเห็นได้ว่าการกระตุ้นเศรษฐกิจของพรรคเพื่อไทยตอบโจทย์ประเทศ เหมือนละลอกคลื่น ถาโถมสู่เศรษฐกิจประเทศอย่างเป็นน้ำ
เป็นเนื้อ
........ส่งผลการเปลี่ยนแปลงประเทศทั้งทางกายภาพ คือเกิดสาธรณูปโภค ตึกอาคารบ้านจัดสรร กระจายความเติบโตตามหัวเมือง ใหญ่เส้นทางรถไฟความเร็วสูง
........เกิดการลงทุนทั้งภายในและต่างประเทศอย่างมหาศาล มีการสร้างงาน มีอาชีพ ลดช่องว่างทางสังคม การท่องเที่ยวเติบโตเป็นร้อยเปอร์
เซนต์ รัฐจัดเก็บภาษีได้มากเป็นเท่าตัวปี งบประมาณก็ขยายขึ้น
........รายได้ที่เศรษฐกิจเติบโตขนาดนี้ จึงเป็นคำตอบได้ดีว่าหนี้ที่ลงทุนกับ
เม็กกะโปรเจ็คที่กล่าวหาว่าจะเป็นภาระลูกหลานไทยนั้นไม่เป็นความจริง
........เพราะจะมีเงินที่จัดเก็บได้จากฐานภาษีที่ใหญ่ขึ้นเป็นเท่าตัว มาใช้หนี้คืนได้อย่างแน่นอน
----------------------------------------------------------------
........ส่วนคุณสมคิดจะมาแก้ปัญหาด้วยประชานิยมระดับประถม ก็มิอาจส่งผลให้เศรษฐกิจไทยฟื้นตัวได้อย่างแน่นอน
........เพราะเป็นกระตุ้นที่น้อยเกินไปกับภาวะเศรษฐกิจโลก และการแอนตี้จากโลกเสรีเพราะเรากลายเป็นเผด็จการในประชาธิปไตยไปแล้ว
........ทำให้มีปัญหาเรื่องการส่งออกเรื่องการลงทุนจากต่างประเทศ เพียงแค่รักษาทุนเดิมก็แย่อยู่แล้ว
........รัฐบาลเผด็จการเป็นตัวปัญหาหลักของความเชื่อมั่นทั้งหลายทั้งปวง เป็นจิตวิทยาที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจ
........มันจึงเป็นจุดสลบของเศรษฐกิจประเทศไทย ไม่ใช่คุณสมคิดไม่มี
ฝีมือ จึงกล้าฟันธงว่าจะไปไม่รอด
........คนไทยเราปล่อยโอกาสความรุ่งเรืองหลุดลอยไปแล้ว.....แค่หูเบา เท่านั้นเอง
วันจันทร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2558
ข้อคิดดีดี จากพ่อใหญ่มาร์ … มาร์ติน วีลเลอร์
ข้อคิดดีดี จากพ่อใหญ่มาร์ … มาร์ติน วีลเลอร์
---------------------------------------------------------
มันเป็นเรื่องแปลกนะที่ประเทศไทย คนยากจนมีหนี้สินเยอะ ที่อังกฤษมีแต่คนรวยที่มีหนี้สิน คนจนไม่มีหนี้ เพราะเขาไม่ให้คนจนยืมเงิน เนื่องจากกลัวจะไม่มีปัญญาใช้คืน จึงไม่มีสิทธิ์มีหนี้สิน แต่คนรวยยืมเงินได้
คำว่ารวยกับคำว่าจน มันคืออะไรกันแน่?
ที่ขอนแก่นเขาว่าผมบ้าบ้าง ฝรั่งยากจนบ้าง ฝรั่งตกอับบ้าง ฝรั่งขี้นก ฝรั่งไม่มีเงิน แต่ผมบอกว่า ไม่ใช่ ผมรวยนะ เขาถามว่ารวยได้ยังไง ผมบอกว่า…
๑) ผมมีบ้าน ผมทำบ้านเล็ก ๆ เป็นกระท่อมน้อย ๆ เอาหญ้ามามุงหลังคา ชาวบ้านเรียกว่า เถียงนา ไม่ใช่บ้านหรอก ผมบอกว่าใช่ มันบ้านของผม ไม่ใช่บ้านเจ้านาย ราคาหนึ่งหมื่นสองพันบาท อยู่ได้ครับ มันกันแดดกันฝนได้ แค่นั้นผมก็รวยแล้ว
๒) มีที่ดิน แค่ ๖ ไร่เท่านั้นเอง ที่นั่นเขาบอกว่ากระจอก มีนิดเดียว แต่สำหรับฝรั่ง มันเยอะมาก จริง ๆ ผมคิดว่า มันเป็นเรื่องสำคัญ เป็นพื้นฐานของชีวิต เราต้องมีที่อยู่อาศัยเป็นของเรา ไม่ใช่ของเจ้านาย เพราะว่าถ้ามันเป็นของเจ้านาย เราต้องไปหาเงินให้เขา ถ้าเราไม่มีเงิน เขาก็ไล่เราออก เราไม่มีที่อยู่นะ เพราะฉะนั้น ต้องมีบ้านเป็นของตัวเองไว้ก่อน ซึ่งผมก็มีบ้าน คิดว่าลูกของผม จะต้องมีบ้านแน่ ๆ ด้วย
เรื่องเกษตรผมทำไม่เก่ง แต่ที่ทำได้ง่ายคือ ปลูกต้นไม้ ไม้ประดู่ ไม้สะเดา ไม้ยาง ปลูกไว้ให้ลูกสร้างบ้าน ประเทศไทยอุดมสมบูรณ์ ต้นไม้โตเร็วมาก แค่ ๒๕-๓๐ ปี ตัดได้แล้ว ไม่เหมือนอังกฤษ ๒๐๐ ปีได้เท่านี้เอง เพราะอากาศเย็น
เป็นเรื่องแปลก ที่คนไทยจะบ่น โอ๊ย..มันร้อน ผมว่ากลับเป็นเรื่องดี แสงแดดเยอะ จะทำการเกษตรได้ ตลอดเวลา ๑ ปี ทำได้ทุกวัน แต่คนไทยจะบ่นร้อนๆ ไม่เอาๆ อยากเป็นคนผิวขาวดีกว่า
แต่คนอังกฤษ เขาถือคนผิวขาวเป็นคนจน เพราะว่าไม่มีปัญญา จะไปเมืองนอก ซึ่งกลับกันเลย แม้แต่พ่อของผม เขาก็ยังมีเครื่องอาบแดดเพื่อให้ผิวเป็นสีแทน ให้ดูเป็นแบบคนมีสตางค์ แต่คนไทยกลับอยากมีผิวขาว
ผมมีลูก ๓ คน ชาย ๒ หญิง ๑ สิ่งสำคัญที่สุด ๒ เรื่องในชีวิตของเรา คือ…
๑) ต้องมีบ้าน เป็นของตัวเองให้ได้ จึงจะถือว่าชีวิตประสบความสำเร็จ
๒) ต้องมีงานทำทุกวัน ไม่ได้จำกัดว่า ต้องเป็นงานอะไร แต่ขอให้มีงานทำทุกวัน ชีวิตจึงจะไม่สูญเปล่า วิธีเดียวที่รับประกันได้ว่า ลูกมีงานทำ คือการมีที่ทำกินให้เขา และเราต้องช่วยให้เขาทำเป็น ผมคิดว่าคนชนบทจริง ๆ ใครมีที่ดินทำกินแล้วจะไม่ตกงาน เว้นแต่คนขี้เกียจ ซึ่งบางคนมีที่ดินเยอะ แต่ไม่ยอมทำ ถ้าเราสั่งสอน ให้ลูกรู้จักทำมาหากิน เขาก็ไม่ตกงาน
ผมถือว่างานที่อิสระ และมีประโยชน์มากที่สุด คืองานเกษตรซึ่งช่วยให้เรากินอิ่มทุกวัน คนอังกฤษกินไม่อิ่มเยอะมากนะ ผมไม่อยากให้ลูกของผมอดอาหาร อยากให้ลูกกินอิ่ม ในลักษณะที่ส่งเสริมสุขภาพด้วย กินอาหาร ที่ไม่มีสารพิษ กินอาหารแบบเรียบง่ายก็ได้ แต่อิ่มทุกวัน
เมื่อมีบ้าน มีงาน มีอาหาร ลูกของผม ก็จะรวยที่สุด ผมอยากให้ลูกอยู่บ้านนอก เพราะว่าสะอาด จ้างเท่าไหร่ก็ไม่อยากให้ไปอยู่ ในเมืองหรอกเพราะสกปรก แออัด
สำคัญที่สุดคือ เรื่องของสังคม ผมไม่อยากให้ลูกไปอยู่ในเมือง เพราะว่าคนเมืองเห็นแก่ตัว วิ่งไปหาเงินอย่างเดียว แข่งขันกันเยอะ เดี๋ยวก็ฆ่ากัน ด่ากันทุกวัน ไม่สงบ อยากให้ลูกอยู่บ้านนอก เขาจะได้สิ่งที่หายากที่สุดในโลก
คนอีสานบ้านนอกเป็นคนดีมากนะ มีน้ำใจ รู้จักช่วยเหลือคนอื่น เอื้ออาทรกัน เกื้อกูลกัน แบ่งปันกัน ไม่แข่งขันกัน ความเป็นชุมชนเป็นสิ่งที่หายากนะ ถ้าเราไปอยู่ในเมือง จะอยู่แบบของใครของมัน บ้านคนละหลัง ครอบครัวคนละหลัง ไม่รู้จักกัน ถ้าเราอยู่ในชุมชนเล็ก ๆ เราก็ช่วยเหลือกันได้ คุยกันได้ แบ่งปันกันได้ ในที่สุดเราก็จะเป็นคนมีน้ำใจได้
ลูกของผมเขาเป็นคนมีน้ำใจ เขาอาจจะไม่มีเงิน ไม่ได้เรียนหนังสือสูงๆ แต่เขาจะมีสิ่งที่ดีกว่านั้นเยอะ คือเขาจะมีที่อยู่อาศัย มีชุมชนที่ดี ไม่มียาเสพติด ไม่มีการพนัน ไม่มีอาชญากรรม มันน่าอยู่ ขอให้เราอยู่ในชุมชนที่เป็นแบบนั้นมันก็ดีนะ ไม่ต้องคิดมาก ไม่ต้องเป็นห่วง ลูกก็จะเป็นคนดี ไม่ติดยา ไม่ขี้ขโมย ไม่เล่นไพ่ มีน้ำใจและรู้จักช่วยเหลือคนอื่น
ลูกผมเรียนหนังสือไม่เก่ง ปีนี้เขาได้คะแนนเป็นอันดับที่ ๑๙ ในห้องของเขา มีนักเรียน ๓๙ คน มันเดินสายกลางพอดีเลย (หัวเราะ) แต่ผมไม่ได้สนใจเรื่องอันดับคะแนนหรอก
ครูเขาเขียนถึงอุปนิสัยของลูกว่า เป็นคนที่มีน้ำใจ ชอบช่วยเหลือคนอื่น ซึ่งผมไม่ได้สอนแบบนั้น ฝรั่งส่วนมากจะเห็นแก่ตัว ผมเคยอยู่ในสังคมอย่างนั้นมาก่อน มันเปลี่ยนยากครับ ผมจึงไม่ได้สอนให้ลูกเป็นคนมีน้ำใจ แต่มันเป็นที่ชุมชน เป็นวิถีชีวิตของคนอีสาน ที่เริ่มซึมเข้าไปในกระดูกของเขา ทำให้ลูกอายุแค่ ๘ ขวบเป็นคนมีน้ำใจ ผมถือว่าสุดยอดแล้ว ผมภูมิใจในตัวของลูกมาก ๆ เรื่องเรียนไม่สำคัญหรอก สำคัญที่สุดนั้น เป็นความมีน้ำใจถ้าเขาสามารถรักษาสิ่งนี้ไว้ตลอดชีวิต ผมคิดว่าเขาคงมีความสุขแน่
เขียนโดย Social Selaphumpittayakom ที่ 10:37
วันพุธที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2558
ระบบการเรียน
ระบบการเรียน (Knowledge Management-KM) ทักษะที่จำเป็นในการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียน Worl Class Standrad (1) ทักษะการเรียนรู้ Learning Skills (2) ทักษะการคิด Thinking Skills (3) ทักษะการแก้ปัญหา Problerm Skills (4) ทักษะชีวิต Life Skills (5) ทักษะการใช้เทคโนโลยี Technology Skills (6) ทักษะการสื่อสาร Communication Skills บูรณาการร่วมวิชาคอมพิวเตอร์ ทักษะที่เพรียบพร้อม 4 ด้าน (1) ทักษะด้านรู้ภาษาดิจิตอล Digital Literacy (2) ทักษะด้านรู้คิดประดิษฐ์สร้าง (3) ทักษะด้านการสื่อสารมีประสิทธิภาพ (4) ทักษะด้านการสื่อสารมีประสิทธิผล สู่เป้าหมายคุณภาพ "ดี เก่ง มีความสุข" ตามเป้าหมายของหลักสูตรการศึกษา
วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2558
ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย
ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย เป็นขั้นตอนแรก นักประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร อดีตส่วนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด เป็นการตั้งคำถามที่ต้องการศึกษา นักประวัติศาสตร์ต้องอาศัยการอ่าน การสังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทางประวัติศาสตร์ในเรื่องนั้นๆมาก่อนบ้าง ซึ่งคำถามหลักที่นักประวัติศาสตร์ควรคำนึงอยู่ตลอดเวลาก็คือทำไมและเกิดขึ้นอย่างไร
ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ให้ข้อมูล มีทั้งหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร และหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร มีทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้น(ปฐมภูมิ) และหลักฐานชั้นรอง(ทุติยภูมิ) ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน วิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ คือ การตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลในหลักฐานเหล่านั้นว่า มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ ประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานและวิพากษ์ข้อมูลโดยขั้นตอนทั้งสองจะกระทำควบคู่กันไป เนื่องจากการตรวจสอบหลักฐานต้องพิจารณาจากเนื้อหา หรือข้อมูลภายในหลักฐานนั้น และในการวิพากษ์ข้อมูลก็ต้องอาศัยรูปลักษณะของหลักฐานภายนอกประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานหรือวิพากษ์ภายนอก
ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐานการตีความหลักฐาน หมายถึง การพิจารณาข้อมูลในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาที่แท้จริงอย่างไร โดยดูจากลีลาการเขียนของผู้บันทึกและรูปร่างลักษณะโดยทั่วไปของประดิษฐกรรมต่างๆเพื่อให้ได้ความหมายที่แท้จริงซึ่งอาจแอบแฟงโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม
ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูล จัดเป็นขั้นตอนสุดท้ายของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้องเรียบเรียงเรื่อง หรือนำเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบหรืออธิบายความอยากรู้ ข้อสงสัยตลอดจนความรู้ใหม่ ความคิดใหม่ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้านั้นลักษณะ ประเภท และความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยพฤติกรรมหรือเรื่องราวของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในอดีต ร่องรอยที่คนในอดีตสร้างเอาไว้ เป้าหมายของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ คือ การเข้าใจสังคมในอดีตให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด เพื่อนำมาเสริมสร้างความเข้าใจในสังคมปัจจุบัน
"ประวัติศาสตร์" ไว้ เช่น
อาร์. จี. คอลลิงวูด (R. G. Collingwood) อธิบายว่าประวัติศาสตร์คือวิธีการวิจัยหรือการไต่สวน ... โดยมีจุดมุ่งหมายจะศึกษาเกี่ยวกับ ... พฤติการณ์ของมนุษยชาติที่เกิดขึ้นในอดีต (history is a kind of research or inquiry ... action of human beings that have been done in the past.)
อี. เอช. คาร์ (E. H. Carr) อธิบายว่าประวัติศาสตร์นั้นก็คือกระบวนการอันต่อเนื่องของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักประวัติศาสตร์กับข้อมูลของเขา ประวัติศาสตร์คือบทสนทนาอันไม่มีที่สิ้นสุดระหว่างปัจจุบันกับอดีต (What is history?, is that it is a continuous process of interaction between the present and the past.)
ส่วน ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสหรัฐอเมริกาอธิบายถึงคำว่าประวัติศาสตร์และเตือนผู้ศึกษา/อ่านประวัติศาสตร์ไว้น่าสนใจ ดังนี้ "การเข้าใจอดีตนั้นคือประวัติศาสตร์ ... เราต้องเข้าใจว่าความรู้เกี่ยวกับอดีตนั้นสร้างใหม่ได้เรื่อยๆ เพราะทัศนะมุมมองของสมัยที่เขียนประวัติศาสตร์นั้นเปลี่ยนอยู่เสมอ ..."
ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย
ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย เป็นขั้นตอนแรก นักประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร อดีตส่วนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด เป็นการตั้งคำถามที่ต้องการศึกษา นักประวัติศาสตร์ต้องอาศัยการอ่าน การสังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทางประวัติศาสตร์ในเรื่องนั้นๆมาก่อนบ้าง ซึ่งคำถามหลักที่นักประวัติศาสตร์ควรคำนึงอยู่ตลอดเวลาก็คือทำไมและเกิดขึ้นอย่างไร
ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ให้ข้อมูล มีทั้งหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร และหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร มีทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้น(ปฐมภูมิ) และหลักฐานชั้นรอง(ทุติยภูมิ) ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน วิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ คือ การตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลในหลักฐานเหล่านั้นว่า มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ ประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานและวิพากษ์ข้อมูลโดยขั้นตอนทั้งสองจะกระทำควบคู่กันไป เนื่องจากการตรวจสอบหลักฐานต้องพิจารณาจากเนื้อหา หรือข้อมูลภายในหลักฐานนั้น และในการวิพากษ์ข้อมูลก็ต้องอาศัยรูปลักษณะของหลักฐานภายนอกประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานหรือวิพากษ์ภายนอก
ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐานการตีความหลักฐาน หมายถึง การพิจารณาข้อมูลในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาที่แท้จริงอย่างไร โดยดูจากลีลาการเขียนของผู้บันทึกและรูปร่างลักษณะโดยทั่วไปของประดิษฐกรรมต่างๆเพื่อให้ได้ความหมายที่แท้จริงซึ่งอาจแอบแฟงโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม
ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูล จัดเป็นขั้นตอนสุดท้ายของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้องเรียบเรียงเรื่อง หรือนำเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบหรืออธิบายความอยากรู้ ข้อสงสัยตลอดจนความรู้ใหม่ ความคิดใหม่ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้านั้นลักษณะ ประเภท และความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยพฤติกรรมหรือเรื่องราวของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในอดีต ร่องรอยที่คนในอดีตสร้างเอาไว้ เป้าหมายของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ คือ การเข้าใจสังคมในอดีตให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด เพื่อนำมาเสริมสร้างความเข้าใจในสังคมปัจจุบัน
"ประวัติศาสตร์" ไว้ เช่น
อาร์. จี. คอลลิงวูด (R. G. Collingwood) อธิบายว่าประวัติศาสตร์คือวิธีการวิจัยหรือการไต่สวน ... โดยมีจุดมุ่งหมายจะศึกษาเกี่ยวกับ ... พฤติการณ์ของมนุษยชาติที่เกิดขึ้นในอดีต (history is a kind of research or inquiry ... action of human beings that have been done in the past.)
อี. เอช. คาร์ (E. H. Carr) อธิบายว่าประวัติศาสตร์นั้นก็คือกระบวนการอันต่อเนื่องของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักประวัติศาสตร์กับข้อมูลของเขา ประวัติศาสตร์คือบทสนทนาอันไม่มีที่สิ้นสุดระหว่างปัจจุบันกับอดีต (What is history?, is that it is a continuous process of interaction between the present and the past.)
ส่วน ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสหรัฐอเมริกาอธิบายถึงคำว่าประวัติศาสตร์และเตือนผู้ศึกษา/อ่านประวัติศาสตร์ไว้น่าสนใจ ดังนี้ "การเข้าใจอดีตนั้นคือประวัติศาสตร์ ... เราต้องเข้าใจว่าความรู้เกี่ยวกับอดีตนั้นสร้างใหม่ได้เรื่อยๆ เพราะทัศนะมุมมองของสมัยที่เขียนประวัติศาสตร์นั้นเปลี่ยนอยู่เสมอ ..."
ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย
ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย เป็นขั้นตอนแรก นักประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร อดีตส่วนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด เป็นการตั้งคำถามที่ต้องการศึกษา นักประวัติศาสตร์ต้องอาศัยการอ่าน การสังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทางประวัติศาสตร์ในเรื่องนั้นๆมาก่อนบ้าง ซึ่งคำถามหลักที่นักประวัติศาสตร์ควรคำนึงอยู่ตลอดเวลาก็คือทำไมและเกิดขึ้นอย่างไร
ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ให้ข้อมูล มีทั้งหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร และหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร มีทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้น(ปฐมภูมิ) และหลักฐานชั้นรอง(ทุติยภูมิ) ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน วิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ คือ การตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลในหลักฐานเหล่านั้นว่า มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ ประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานและวิพากษ์ข้อมูลโดยขั้นตอนทั้งสองจะกระทำควบคู่กันไป เนื่องจากการตรวจสอบหลักฐานต้องพิจารณาจากเนื้อหา หรือข้อมูลภายในหลักฐานนั้น และในการวิพากษ์ข้อมูลก็ต้องอาศัยรูปลักษณะของหลักฐานภายนอกประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานหรือวิพากษ์ภายนอก
ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐานการตีความหลักฐาน หมายถึง การพิจารณาข้อมูลในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาที่แท้จริงอย่างไร โดยดูจากลีลาการเขียนของผู้บันทึกและรูปร่างลักษณะโดยทั่วไปของประดิษฐกรรมต่างๆเพื่อให้ได้ความหมายที่แท้จริงซึ่งอาจแอบแฟงโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม
ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูล จัดเป็นขั้นตอนสุดท้ายของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้องเรียบเรียงเรื่อง หรือนำเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบหรืออธิบายความอยากรู้ ข้อสงสัยตลอดจนความรู้ใหม่ ความคิดใหม่ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้านั้นลักษณะ ประเภท และความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยพฤติกรรมหรือเรื่องราวของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในอดีต ร่องรอยที่คนในอดีตสร้างเอาไว้ เป้าหมายของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ คือ การเข้าใจสังคมในอดีตให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด เพื่อนำมาเสริมสร้างความเข้าใจในสังคมปัจจุบัน
"ประวัติศาสตร์" ไว้ เช่น
อาร์. จี. คอลลิงวูด (R. G. Collingwood) อธิบายว่าประวัติศาสตร์คือวิธีการวิจัยหรือการไต่สวน ... โดยมีจุดมุ่งหมายจะศึกษาเกี่ยวกับ ... พฤติการณ์ของมนุษยชาติที่เกิดขึ้นในอดีต (history is a kind of research or inquiry ... action of human beings that have been done in the past.)
อี. เอช. คาร์ (E. H. Carr) อธิบายว่าประวัติศาสตร์นั้นก็คือกระบวนการอันต่อเนื่องของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักประวัติศาสตร์กับข้อมูลของเขา ประวัติศาสตร์คือบทสนทนาอันไม่มีที่สิ้นสุดระหว่างปัจจุบันกับอดีต (What is history?, is that it is a continuous process of interaction between the present and the past.)
ส่วน ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสหรัฐอเมริกาอธิบายถึงคำว่าประวัติศาสตร์และเตือนผู้ศึกษา/อ่านประวัติศาสตร์ไว้น่าสนใจ ดังนี้ "การเข้าใจอดีตนั้นคือประวัติศาสตร์ ... เราต้องเข้าใจว่าความรู้เกี่ยวกับอดีตนั้นสร้างใหม่ได้เรื่อยๆ เพราะทัศนะมุมมองของสมัยที่เขียนประวัติศาสตร์นั้นเปลี่ยนอยู่เสมอ ..."
ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย
ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย เป็นขั้นตอนแรก นักประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร อดีตส่วนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด เป็นการตั้งคำถามที่ต้องการศึกษา นักประวัติศาสตร์ต้องอาศัยการอ่าน การสังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทางประวัติศาสตร์ในเรื่องนั้นๆมาก่อนบ้าง ซึ่งคำถามหลักที่นักประวัติศาสตร์ควรคำนึงอยู่ตลอดเวลาก็คือทำไมและเกิดขึ้นอย่างไร
ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ให้ข้อมูล มีทั้งหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร และหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร มีทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้น(ปฐมภูมิ) และหลักฐานชั้นรอง(ทุติยภูมิ) ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน วิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ คือ การตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลในหลักฐานเหล่านั้นว่า มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ ประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานและวิพากษ์ข้อมูลโดยขั้นตอนทั้งสองจะกระทำควบคู่กันไป เนื่องจากการตรวจสอบหลักฐานต้องพิจารณาจากเนื้อหา หรือข้อมูลภายในหลักฐานนั้น และในการวิพากษ์ข้อมูลก็ต้องอาศัยรูปลักษณะของหลักฐานภายนอกประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานหรือวิพากษ์ภายนอก
ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐานการตีความหลักฐาน หมายถึง การพิจารณาข้อมูลในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาที่แท้จริงอย่างไร โดยดูจากลีลาการเขียนของผู้บันทึกและรูปร่างลักษณะโดยทั่วไปของประดิษฐกรรมต่างๆเพื่อให้ได้ความหมายที่แท้จริงซึ่งอาจแอบแฟงโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม
ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูล จัดเป็นขั้นตอนสุดท้ายของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้องเรียบเรียงเรื่อง หรือนำเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบหรืออธิบายความอยากรู้ ข้อสงสัยตลอดจนความรู้ใหม่ ความคิดใหม่ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้านั้นลักษณะ ประเภท และความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยพฤติกรรมหรือเรื่องราวของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในอดีต ร่องรอยที่คนในอดีตสร้างเอาไว้ เป้าหมายของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ คือ การเข้าใจสังคมในอดีตให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด เพื่อนำมาเสริมสร้างความเข้าใจในสังคมปัจจุบัน
"ประวัติศาสตร์" ไว้ เช่น
อาร์. จี. คอลลิงวูด (R. G. Collingwood) อธิบายว่าประวัติศาสตร์คือวิธีการวิจัยหรือการไต่สวน ... โดยมีจุดมุ่งหมายจะศึกษาเกี่ยวกับ ... พฤติการณ์ของมนุษยชาติที่เกิดขึ้นในอดีต (history is a kind of research or inquiry ... action of human beings that have been done in the past.)
อี. เอช. คาร์ (E. H. Carr) อธิบายว่าประวัติศาสตร์นั้นก็คือกระบวนการอันต่อเนื่องของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักประวัติศาสตร์กับข้อมูลของเขา ประวัติศาสตร์คือบทสนทนาอันไม่มีที่สิ้นสุดระหว่างปัจจุบันกับอดีต (What is history?, is that it is a continuous process of interaction between the present and the past.)
ส่วน ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสหรัฐอเมริกาอธิบายถึงคำว่าประวัติศาสตร์และเตือนผู้ศึกษา/อ่านประวัติศาสตร์ไว้น่าสนใจ ดังนี้ "การเข้าใจอดีตนั้นคือประวัติศาสตร์ ... เราต้องเข้าใจว่าความรู้เกี่ยวกับอดีตนั้นสร้างใหม่ได้เรื่อยๆ เพราะทัศนะมุมมองของสมัยที่เขียนประวัติศาสตร์นั้นเปลี่ยนอยู่เสมอ ..."
วิธีการหาความรู้เกี่ยวกับข้อมูลของตนเองและครอบครัว
วิธีการทางประวัติศาสตร์
ข้อมูลของฉันและครอบครัว
1. วิธีการหาความรู้เกี่ยวกับข้อมูลของตนเองและครอบครัว
การเรียนประวัติศาสตร์ คือ การเรียนรู้เรื่องราวประวัติศาสตร์ความเป็นมาของคนในอดีต เช่น ประวัติของครอบครัวเรา ความเป็นมาของชุมชนที่เราอยู่อาศัย ประเทศของเรา เป็นต้น
ดังนั้น การเรียนประวัติศาสตร์ จึงเป็นการเรียนรู้เรื่องราวของตนเองของชุมชน ของประเทศ ของชาติ สิ่งเหล่านี้มีความสำคัญและเกี่ยวข้องกับตัวเรา ซึ่งเราควรให้ความสนใจ
การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ต้องอาศัยวิธีการทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ การสืบค้นข้อมูล การแสวงหาข้อมูล การรวบรวมและจัดระบบข้อมูล
ลักษณะของข้อมูล มีหลายลักษณะ ดังนี้
1. ข้อเท็จจริง 2. ข้อความ
3. ข่าวสาร 4. เอกสาร
5. สถานที่ 6. สัญลักษณ์
ฯลฯ
การค้นหาข้อมูล เราควรเริ่มจากเรื่องใกล้ตัวก่อน เพราะเป็นข้อมูลที่เราสามารถค้นหาได้ง่าย เช่น ข้อมูลของตัวเรา ข้อมูลของคนในครอบครัวของเรา ซึ่งเราต้องใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ช่วยในการสืบค้นข้อมูล ดังแผนภูมิด้านขวามือ
วิธีการทางประวัติศาสตร์ คือ
1. แหล่งข้อมูล
2. วิธีแสวงหาข้อมูล
3. การรวบรวมข้อมูล
4. การจัดระบบข้อมูล
ก่อนที่จะเริ่มหาข้อมูล เราต้องรู้แหล่งข้อมูลที่เราจะไปหาเสียก่อน เพราะถ้าเราไปหาข้อมูลไม่ถูกแหล่ง หรือไม่ถูกที่ ก็อาจจะไม่ได้ข้อมูลที่เราต้องการทราบ
แหล่งข้อมูล มีหลายลักษณะดังนี้
1. แหล่งข้อมูลที่เป็นบุคคล เช่น พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ครู อาจารย์ เจ้าหน้าที่
2. แหล่งข้อมูลที่เป็นสถานที่ เช่น บ้าน โรงเรียน วัด พิพิธภัณฑ์
3. แหล่งข้อมูลที่เป็นเอกสารทางราชการ เช่น ทะเบียนบ้าน สูติบัตร บัตรประชาชน
4. แหล่งข้อมูลที่เป็นบันทึกของบุคคล เช่น บันทีกประจำวัน บันทึกการเดินทาง
เมื่อเราทราบแหล่งข้อมูลแล้ว ก็สามารถแสวงหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลด้วยวิธีการต่าง ๆ แล้วจึงรวบรวมข้อมูลทั้งหมดมาจัดให้เป็นระบบ ก็จะได้ข้อมูลที่ต้องการและนำไปใช้ประโยชน์ได้
แหล่งข้อมูล วิธีแสวงหาข้อมูล
บุคคล พูดคุย ซักถาม สัมภาษณ์ สังเกต
สถานที่ สำรวจ สังเกต ซักถามจากผู้ที่อยู่ในสถานที่นั้น
เอกสารและบันทึก อ่าน และสังเกต
การสืบค้นข้อมูลของตนเองและครอบครัว จะทำให้เราได้ทราบเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของตัวเรา และสมาชิกในครอบครัว เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง ปู่ ย่า ตา ยาย ทำให้เรามีความเข้าใจเกี่ยวกับตน รวมทั้งเห็นคุณค่าของความสัมพันธ์ในครอบครัว และก่อให้เกิดความภาคภูมิใจในครอบครัวของตนเองด้วย
2. ประวัติความเป็นมาของครอบครัว
ประวัติความเป็นมาของแต่ละครอบครัว เริ่มต้นจากปู่ ย่า ตา ยายของเรา ที่ได้ตั้งที่อยู่อาศัยเพื่อทำมาหากิน และได้ต่อสู้ฝ่าฟันกับความยากลำบาก จนถึงรุ่นพ่อแม่ของเราและตัวเรา ได้มีที่อยู่อาศัยอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
ในช่วงเวลาจากอดีตถึงปัจจุบัน แต่ละครอบครัวจะมีเหตุการณ์สำคัญ ๆ ที่ควรจดจำ ซึ่งอาจเป็นเหตุการณ์ที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตของสมาชิกในครอบครัว
ในแต่ละครอบครัว จะมีประวัติความเป็นมาที่แตกต่างกันไป การศึกษาประวัติความเป้นมาของครอบครัว ทำให้เราทราบว่า ปู่ย่าตายายของเรามีการดำเนินชีวิตที่แตกต่างจากเรา รวมทั้งสภาพบ้านเรือนและสภาพแวดล้อมในอีดตกับปัจจุบันก็แตกต่างกันด้วย
ข้อมูลของฉันและครอบครัว
1. วิธีการหาความรู้เกี่ยวกับข้อมูลของตนเองและครอบครัว
การเรียนประวัติศาสตร์ คือ การเรียนรู้เรื่องราวประวัติศาสตร์ความเป็นมาของคนในอดีต เช่น ประวัติของครอบครัวเรา ความเป็นมาของชุมชนที่เราอยู่อาศัย ประเทศของเรา เป็นต้น
ดังนั้น การเรียนประวัติศาสตร์ จึงเป็นการเรียนรู้เรื่องราวของตนเองของชุมชน ของประเทศ ของชาติ สิ่งเหล่านี้มีความสำคัญและเกี่ยวข้องกับตัวเรา ซึ่งเราควรให้ความสนใจ
การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ต้องอาศัยวิธีการทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ การสืบค้นข้อมูล การแสวงหาข้อมูล การรวบรวมและจัดระบบข้อมูล
ลักษณะของข้อมูล มีหลายลักษณะ ดังนี้
1. ข้อเท็จจริง 2. ข้อความ
3. ข่าวสาร 4. เอกสาร
5. สถานที่ 6. สัญลักษณ์
ฯลฯ
การค้นหาข้อมูล เราควรเริ่มจากเรื่องใกล้ตัวก่อน เพราะเป็นข้อมูลที่เราสามารถค้นหาได้ง่าย เช่น ข้อมูลของตัวเรา ข้อมูลของคนในครอบครัวของเรา ซึ่งเราต้องใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ช่วยในการสืบค้นข้อมูล ดังแผนภูมิด้านขวามือ
วิธีการทางประวัติศาสตร์ คือ
1. แหล่งข้อมูล
2. วิธีแสวงหาข้อมูล
3. การรวบรวมข้อมูล
4. การจัดระบบข้อมูล
ก่อนที่จะเริ่มหาข้อมูล เราต้องรู้แหล่งข้อมูลที่เราจะไปหาเสียก่อน เพราะถ้าเราไปหาข้อมูลไม่ถูกแหล่ง หรือไม่ถูกที่ ก็อาจจะไม่ได้ข้อมูลที่เราต้องการทราบ
แหล่งข้อมูล มีหลายลักษณะดังนี้
1. แหล่งข้อมูลที่เป็นบุคคล เช่น พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ครู อาจารย์ เจ้าหน้าที่
2. แหล่งข้อมูลที่เป็นสถานที่ เช่น บ้าน โรงเรียน วัด พิพิธภัณฑ์
3. แหล่งข้อมูลที่เป็นเอกสารทางราชการ เช่น ทะเบียนบ้าน สูติบัตร บัตรประชาชน
4. แหล่งข้อมูลที่เป็นบันทึกของบุคคล เช่น บันทีกประจำวัน บันทึกการเดินทาง
เมื่อเราทราบแหล่งข้อมูลแล้ว ก็สามารถแสวงหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลด้วยวิธีการต่าง ๆ แล้วจึงรวบรวมข้อมูลทั้งหมดมาจัดให้เป็นระบบ ก็จะได้ข้อมูลที่ต้องการและนำไปใช้ประโยชน์ได้
แหล่งข้อมูล วิธีแสวงหาข้อมูล
บุคคล พูดคุย ซักถาม สัมภาษณ์ สังเกต
สถานที่ สำรวจ สังเกต ซักถามจากผู้ที่อยู่ในสถานที่นั้น
เอกสารและบันทึก อ่าน และสังเกต
การสืบค้นข้อมูลของตนเองและครอบครัว จะทำให้เราได้ทราบเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของตัวเรา และสมาชิกในครอบครัว เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง ปู่ ย่า ตา ยาย ทำให้เรามีความเข้าใจเกี่ยวกับตน รวมทั้งเห็นคุณค่าของความสัมพันธ์ในครอบครัว และก่อให้เกิดความภาคภูมิใจในครอบครัวของตนเองด้วย
2. ประวัติความเป็นมาของครอบครัว
ประวัติความเป็นมาของแต่ละครอบครัว เริ่มต้นจากปู่ ย่า ตา ยายของเรา ที่ได้ตั้งที่อยู่อาศัยเพื่อทำมาหากิน และได้ต่อสู้ฝ่าฟันกับความยากลำบาก จนถึงรุ่นพ่อแม่ของเราและตัวเรา ได้มีที่อยู่อาศัยอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
ในช่วงเวลาจากอดีตถึงปัจจุบัน แต่ละครอบครัวจะมีเหตุการณ์สำคัญ ๆ ที่ควรจดจำ ซึ่งอาจเป็นเหตุการณ์ที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตของสมาชิกในครอบครัว
ในแต่ละครอบครัว จะมีประวัติความเป็นมาที่แตกต่างกันไป การศึกษาประวัติความเป้นมาของครอบครัว ทำให้เราทราบว่า ปู่ย่าตายายของเรามีการดำเนินชีวิตที่แตกต่างจากเรา รวมทั้งสภาพบ้านเรือนและสภาพแวดล้อมในอีดตกับปัจจุบันก็แตกต่างกันด้วย
การวิเคราะห์ข้อมูลทางประวัติศาสตร์
การวิเคราะห์ข้อมูลทางประวัติศาสตร์
คือการวิเคราะห์และตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์ โดยการนำข้อมูลที่ได้สืบค้นรวบรวม คัดเลือก และประเมินไว้แล้วนำมาพิจารณาในรายละเอียดทุกด้าน ซึ่งนักประวัติศาสตร์ต้องใช้เหตุผลเป็นแนวทางในการตีความเพื่อนำไปสู่การค้นพบข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ถูกต้อง
ความสำคัญนั้นเพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ หรือผู้ที่จะเรียนรู้ประวัติศาสตร์จะได้นำไปใช้ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง ไม่ลำเอียง และเกิดความน่าเชื่อถือได้มากที่สุด
1. หลักฐานที่จำแนกตามความสำคัญ
1.1 หลักฐานชั้นต้น
1.2 หลักฐานชั้นรอง
2. หลักฐานที่ใช้อักษรเป็นตัวกำหนด
2.1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
2.2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
3. หลักฐานที่กำหนดตามจุดหมายของการผลิต
3.1 หลักฐานที่มนุษย์ตั้งใจสร้างขึ้น
3.2 หลักฐานที่มิได้เป็นผลผลิตที่มนุษย์สร้างหรือตั้งใจสร้าง
1. หลักฐานที่จำแนกตามความสำคัญ
1.1 หลักฐานชั้นต้น primary sources
หมายถึง คำบอกเล่าหรือบันทึกของผู้พบเห็นเหตุการณ์หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง ได้แก่ บันทึกการเดินทาง จดหมายเหตุ จารึก รวมถึงสิ่งก่อสร้าง หลักฐานทางโบราณคดี โบราณสถาน โบราณวัตถุ เช่น โบสถ์ เจดีย์ วิหาร พระพุทธรูป รูปปั้น หม้อ ไห ฯลฯ
1.2 หลักฐานชั้นรอง secondary sources
หมายถึง ผลงานที่เขียนขึ้น หรือเรียบเรียงขึ้นภายหลังจากเกิดเหตุการณ์นั้นแล้ว โดยอาศัยคำบอกเล่า หรือจากหลักฐานชั้นต้นต่างๆ ได้แก่ ตำนาน วิทยานิพนธ์ เป็นต้น
2. หลักฐานที่ใช้อักษรเป็นตัวกำหนด
2.1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร written sources
หมายถึง หลักฐานที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ได้แก่ ศิลาจารึก พงศาวดาร ใบลาน จดหมายเหตุ วรรณกรรม ชีวประวัติ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร รวมถึงการบันทึกไว้ตามสิ่งก่อสร้าง โบราณสถาน โบราณวัตถุ แผนที่ หลักฐานประเภทนี้จัดว่าเป็นหลักฐานสมัยประวัติศาสตร์
2.2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
หมายถึง สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นทั้งหมดที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ สิ่งก่อสร้าง โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปการแสดง คำบอกเล่า นาฏศิลป์ ตนตรี จิตรกรรม ฯลฯ
3. หลักฐานที่กำหนดตามจุดหมายของการผลิต
3.1 หลักฐานที่มนุษย์ตั้งใจสร้างขึ้น artiface
หลักฐานที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการดำรงชีวิต
3.2 หลักฐานที่มิได้เป็นผลผลิตที่มนุษย์สร้างหรือตั้งใจสร้าง
คือการวิเคราะห์และตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์ โดยการนำข้อมูลที่ได้สืบค้นรวบรวม คัดเลือก และประเมินไว้แล้วนำมาพิจารณาในรายละเอียดทุกด้าน ซึ่งนักประวัติศาสตร์ต้องใช้เหตุผลเป็นแนวทางในการตีความเพื่อนำไปสู่การค้นพบข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ถูกต้อง
ความสำคัญนั้นเพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ หรือผู้ที่จะเรียนรู้ประวัติศาสตร์จะได้นำไปใช้ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง ไม่ลำเอียง และเกิดความน่าเชื่อถือได้มากที่สุด
1. หลักฐานที่จำแนกตามความสำคัญ
1.1 หลักฐานชั้นต้น
1.2 หลักฐานชั้นรอง
2. หลักฐานที่ใช้อักษรเป็นตัวกำหนด
2.1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
2.2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
3. หลักฐานที่กำหนดตามจุดหมายของการผลิต
3.1 หลักฐานที่มนุษย์ตั้งใจสร้างขึ้น
3.2 หลักฐานที่มิได้เป็นผลผลิตที่มนุษย์สร้างหรือตั้งใจสร้าง
1. หลักฐานที่จำแนกตามความสำคัญ
1.1 หลักฐานชั้นต้น primary sources
หมายถึง คำบอกเล่าหรือบันทึกของผู้พบเห็นเหตุการณ์หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง ได้แก่ บันทึกการเดินทาง จดหมายเหตุ จารึก รวมถึงสิ่งก่อสร้าง หลักฐานทางโบราณคดี โบราณสถาน โบราณวัตถุ เช่น โบสถ์ เจดีย์ วิหาร พระพุทธรูป รูปปั้น หม้อ ไห ฯลฯ
1.2 หลักฐานชั้นรอง secondary sources
หมายถึง ผลงานที่เขียนขึ้น หรือเรียบเรียงขึ้นภายหลังจากเกิดเหตุการณ์นั้นแล้ว โดยอาศัยคำบอกเล่า หรือจากหลักฐานชั้นต้นต่างๆ ได้แก่ ตำนาน วิทยานิพนธ์ เป็นต้น
2. หลักฐานที่ใช้อักษรเป็นตัวกำหนด
2.1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร written sources
หมายถึง หลักฐานที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ได้แก่ ศิลาจารึก พงศาวดาร ใบลาน จดหมายเหตุ วรรณกรรม ชีวประวัติ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร รวมถึงการบันทึกไว้ตามสิ่งก่อสร้าง โบราณสถาน โบราณวัตถุ แผนที่ หลักฐานประเภทนี้จัดว่าเป็นหลักฐานสมัยประวัติศาสตร์
2.2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
หมายถึง สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นทั้งหมดที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ สิ่งก่อสร้าง โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปการแสดง คำบอกเล่า นาฏศิลป์ ตนตรี จิตรกรรม ฯลฯ
3. หลักฐานที่กำหนดตามจุดหมายของการผลิต
3.1 หลักฐานที่มนุษย์ตั้งใจสร้างขึ้น artiface
หลักฐานที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการดำรงชีวิต
3.2 หลักฐานที่มิได้เป็นผลผลิตที่มนุษย์สร้างหรือตั้งใจสร้าง
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ทวีปออสเตรเลีย-โอเชียเนีย
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ทวีปออสเตรเลีย-โอเชียเนีย
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์
ออสเตรเลียเป็นทวีปเกือบสุดท้ายที่ชาวยุโรปเดินทางมาพบ ก่อนหน้านี้ชาวยุโรป ไม่ทราบว่ายังมีดินแดนทางตอนใต้
เพียงแต่คาดว่าน่าจะมี ในสมัยกรีกโบราณ นักภูมิศาสตร์ชื่อ ปโตเลมี ได้เขียนแผนที่โลก โดยแสดงให้เห็นว่าทางตอนใต้ของทวีปแฟริกา
มีดินแดนเชื่อมต่อกับทางตอนใต้ของทวีปเอเชีย ซึ่งปิดล้อม มหา สมุทรอินเดียไว้ และตั้งชื่อดินแดนส่วนนั้นว่า “แทร์รา อินคอกนิตา” Terra Incognita แปลว่า ดินแดนที่ยังไม่รู้จัก
ต่อมาในสมัยกลาง นักภูมิศาสตร์ก็ยังเชื่อว่าดินแดนทางใต้นี้มีอยู่ จึงปรากฏแผนที่หลายฉบับที่เขียนขึ้นในสมัยกลาง ที่แสดงที่ตั้งของแผ่นดินขนาดใหญ่ทางตอนใต้ ของมหาสมุทรอินเดียแบบเดียวกับ ปโตเลมี แต่เรียกดินแดนนี้ว่า แทร์รา ออสตราลิส Terra Australis แปลว่า ดินแดนทางใต้ ซึ่งชื่อนี้กลายเป็นชื่อของทวีปและประเทศออสเตรเลีย ในปัจจุบัน
การค้นพบออสเตรเลียของชาวยุโรปได้รับการบันทึกไว้ครั้งแรกในเดือนมีนาคม ค.ศ.1606 เมื่อชาวนักสำรวจชาวฮอลันดา ชื่อ วิลเลม แจนสซูน Willem Janszoon ค.ศ.1571-1638 ทำแผนที่ชายฝั่งของแหลมเคปยอร์กและคาบสมุทรเพนินซูลา Cape York and Peninsula ของรัฐควีนสแลนด์ จากการค้นพบครั้งนั้น ทำให้เริ่มมีการทำแผนที่ชายฝั่งตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย ต่อมา ในปี ค.ศ. 1642 นักเดินเรือ ชาวฮอลันดา ชื่อ อเบล แทสมัน ได้เดินเรือจากมหาสมุทรอินเดียอ้อมไปทางใต้ของออสเตรลีย จนพบเกาะ ซึ่งเขาเรียกชื่อว่า เกาะแวนดีเมน Van Diemen’s Land ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นเกาะแทสมาเนียเพื่อเป็นเกียรติแก่ อเบล แทสมัน และเรียกดินแดนที่ค้นพบนี้ว่า “นิวฮอลแลนด์” New Holland แต่ขณะนั้นยังไม่มีความตั้งใจที่จะประกาศยึดครองดินแดนดังกล่าว ต่อมาในปีเดียวกัน นักสำรวจชาวสเปน ชื่อ หลุยส์ วาเอซ เดอ ทอเรส Luis Vaez de Torres ได้เดินเรือผ่านช่องแคบระหว่างออสเตรเลียและปาปัวนิวกินี จึงเรียกบริเวณนี้ว่า “ช่องแคบทอเรส”
จากนั้นในปี ค.ศ.1688 วิลเลียม แดมเปียร์ William Dampier เป็นนักเดินเรือชาวอังกฤษคนแรกที่เข้าไปตั้งถิ่นฐาน บนชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกเฉียงเหนือของออสเตรเลีย โดยเขียนชื่อไว้บนสังกะสีตอกติดไว้บนต้นไม ้เพราะพบคนพื้นเมืองแสดงอาการเป็นศัตรูและสภาพภูมิอากาศแห้งแล้งจึงไม่สนใจ ต่อมาในปี ค.ศ.1770 กัปตันเจมส์ คุก James Cook ชาวอังกฤษ ได้ล่องเรือมาสำรวจและได้จัดทำแผนที่ทางด้านชายฝั่งตะวันออกของทวีปออสเตรเลีย เห็นสภาพภูมิอากาศคล้ายแคว้นเวลส์ของสหราชอาณาจักรจึงได้ตั้งชื่อดินแดนแถบนั้นว่า “นิวเซาท์เวลส์” New South Wales พร้อมกันนั้น ได้ประกาศให้เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร แล้วยึดครองออสเตรเลีย เป็นอาณานิคม
สาเหตุที่รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจส่งนักโทษมาตั้งถิ่นฐานที่ออสเตรเลียเนื่องจาก อังกฤษได้สูญเสียอาณานิคมในทวีปอเมริกาเหนือ และต้องการระบายนักโทษที่แออัดอยู่ในคุกของประเทศอังกฤษ โดยกัปตันอาร์เธอร์ฟิลลิป Arthur Philip เป็นผู้ควบคุมนักโทษกลุ่มแรกได้เดินทางมาถึงอ่าวซิดนีย์ เมื่อวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 1788 และได้ย้ายมาตั้งถิ่นฐานถาวรบริเวณ อ่าว พอร์ต แจคสัน แล้วตั้งชื่อว่า ซิดนีย์ โคฟ ในวันที่ 26 มกราคม 1788 (ถือเป็นวันชาติออสเตรเลีย) นับเป็นจุดเริ่มต้นของการตั้งถิ่นฐานในทวีปออสเตรเลียของชาวอังกฤษ
ผู้ตั้งถิ่นฐานในยุคแรกส่วนใหญ่จะเป็นนักโทษและครอบครัวของทหารแล้ว อีกส่วนหนึ่งคือ ผู้ที่ตั้งใจย้ายมาตั้งถิ่นฐานใหม่ซึ่งรวมถึงชนชาติอื่น ๆ อาทิ อิตาเลียน กรีกและชาวยุโรปชาติอื่น ๆ ตลอดจนชาวเอเชีย อาทิ จีน มาเลเซีย อินโดนีเซีย เป็นต้น โดยเริ่มตั้งถิ่นฐานครั้งแรกบริเวณอ่าวโบตานีเมืองซิดนีย์ ในปัจจุบัน
ต่อมามีการค้นพบทองคำ ในปี ค.ศ. 1800 จัดว่าเป็นยุค “ตื่นทอง” GOLD RUSH ส่งผลให้ผู้ที่มิใช่นักโทษอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในทวีปออสเตรเลียมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยกลุ่มคนที่มามีทั้งชาวอังกฤษ ไอร์แลนด์ เยอรมัน จีน นอกจากนี้ ยังมีชาวแอฟริกันอพยพเข้ามาและมีการนำ อูฐ เข้ามาด้วย เพื่อออกสำรวจในพื้นที่ภายในทวีป
ปรากฏว่าช่วงระยะเวลา เพียง 10 ปี ระหว่าง ค.ศ. 1853-1863 ประชากรในอาณานิคม วิตอเรีย เพิ่มขึ้นจาก 77,000 คน เป็น 540,000คน ผลของการตื่นทอง เป็นเหตุให้มีผู้คนอพยพเข้าไปในออสเตรเลียเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะชาวจีน ได้เดินทางเข้าไปแสวงโชคหางานทำ ชาวอาณานิคมที่เป็นชาวผิวขาวเริ่มวิตกกังวลและตั้งข้อรังเกียจชาวจีนที่เข้ามาแย่งอาชีพ รัฐบาลของออสเตรเลีย จึงได้ใช้ นโยบายออสเตรเลียขาว White australian policy เพื่อจำกัดคนที่ไม่ใช่ผิวขาวเข้าเมือง โดยพาะชาวจีน
การตั้งถิ่นฐานบนเกาะแทสเมเนีย หรือ ชื่อที่เรียกในขณะนั้นคือ แวนไดเมนส์แลนด์ Van Diemen’s Land ซึ่งต่อมาในปี ค.ศ. 1825 แยกออกมาเป็นอีกรัฐหนึ่ง ชื่อ รัฐแทสเมเนีย ตามชื่อ นักเดินเรือ อเบลแจนซูน ทัสมัน Abel Janszoon Tasman
นับตั้งแต่ต้นทศวรรษ 1850 อุตสาหกรรมขนสัตว์ การขุดทอง การขาดแคลนแรงงาน แผ่นดินอันกว้างใหญ่สำหรับการเพาะปลูก การทำเหมืองแร่ และการค้าขาย ได้ทำให้ออสเตรเลียเป็นดินแดนแห่งโอกาส และเป็นแรงกระตุ้นให้คนจากพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วโลกหลั่งไหลมาตั้งถิ่นฐานในดินแดนออสเตรเลียเพิ่มจำนวนมากขึ้น
ในปี ค.ศ.1829 สหราชอาณาจักรได้ประกาศยึดครองดินแดนทางฝั่งตะวันตกของทวีปออสเตรเลีย และได้แยกดินแดนทางด้านตะวันตกออกจาก นิวเซาท์เวลส์ มาเป็นอีกหลายมลรัฐ ได้แก่ รัฐออสเตรเลียใต้ ในปี ค.ศ.1836 รัฐนี้เรียกว่าเป็น พื้นที่เสรี Free Province คือ เป็นรัฐที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการรองรับนักโทษ Penal Colony รัฐวิคตอเรีย ในปี ค.ศ.1851 และรัฐควีนส์แลนด์ ในปี ค.ศ.1859 ในส่วนของเขตการปกครอง เทอร์ริทอรีเหนือNorthern Territory ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ.1911 โดยเป็นส่วนที่ตัดออกมาจากรัฐออสเตรเลียใต้
ในปี ค.ศ.1848 นับเป็นปีแห่งการยุติการขนส่งนักโทษมายังทวีปออสเตรเลีย เนื่องจากมีการรณรงค์ยกเลิกมาตรการดังกล่าวโดยกลุ่มผู้ตั้งถิ่นฐาน ประเทศออสเตรเลียจึงไม่ใช่ดินแดนอาณานิคมของนักโทษอีกต่อไป
ก่อนที่ชนชาติยุโรปจะย้ายถิ่นฐานมาที่ทวีปออสเตรเลีย บนทวีปนี้มีชนพื้นเมืองอาศัยอยู่ ซึ่งจำนวนประชากรในขณะนั้นคาดว่าประมาณ 315,000 คน แต่วิถีชีวิตของชนพื้นเมืองเหล่านี้ถูกเปลี่ยนไปเมื่ออังกฤษเข้ามายึดครองและประกาศเป็นพื้นที่อาณานิคม ซึ่งต่อมาทำให้ชนพื้นเมืองมีจำนวนลดน้อยลง โดยในช่วงปี ค.ศ.1930 จำนวนประชากรลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 20 ของจำนวนประชากรเริ่มแรก
สรุปนับตั้งแต่ปี ค.ศ.1788 มีชายหญิงประมาณ 160,000 คน ที่อพยพไปออสเตรเลียในฐานะเสมือนนักโทษ อย่างไรก็ตาม ในช่วงเวลานี้ชนพื้นเมืองของออสเตรเลียได้เผชิญความยากลำบาก จากการรุกรานของผู้อพยพที่อ้างสิทธิในฐานะเจ้าอาณานิคม มีการขับไล่ออกจากพื้นที่ และการเข้ายึดทรัพย์ ในขณะเดียวกัน ชนพื้นเมืองต้องอยู่อย่างลำบาก เจ็บไข้ได้ป่วยและการเสียชีวิต ตลอดจนวิถีชีวิตดั้งเดิมและธรรมเนียมปฏิบัติถูกทำลาย
ใน ค.ศ. 1914 ออสเตรเลียได้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายต่อประเทศออสเตรเลียเป็นอย่างมาก ผู้ชายออสเตรเลียเกือบ 3 ล้านคน และอาสาสมัครเกือบ 400,000 คนต้องเข้าร่วมรบในสงคราม ผลจากสงครามทำให้มีผู้เสียชีวิตประมาณ 60,000 คนและได้รับบาดเจ็บหลายหมื่นคน
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 กองกำลังของออสเตรเลียมีส่วนสนับสนุนครั้งสำคัญในการเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับยุโรป เอเชียและภาคพื้นแปซิฟิก ได้เข้าสู้รบในสงครามและได้รับชัยชนะอย่างน่าภาคภูมิใจ
อย่างไรก็ตาม ช่วงเวลาระหว่างสงครามโลก เป็นเวลาที่ประเทศไร้เสถียรภาพ เศรษฐกิจตกต่ำ และสถาบันทางการเงินของออสเตรเลียหลายแห่งล้ม
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง หรือหลังจากปี ค.ศ.1945 ออสเตรเลียได้เข้าสู่ช่วงเวลาแห่งความเจริญรุ่งเรือง กลับมาเฟื่องฟูอีกครั้งและเกิดความต้องการแรงงานอย่างมาก ผู้หญิงจำนวนมากเข้าไปทำงานในโรงงาน ขณะที่ผู้ชายที่กลับจากการออกรบในสงครามสามารถเข้ามาทำงานต่อได้
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ออสเตรเลียมีนโยบายที่ไม่แบ่งแยกหรือเลือกปฏิบัติในระดับสากลและที่นี่จึงเป็นบ้านสำหรับประชาชนที่มาจากกว่า 200 ประเทศ
ในช่วงทศวรรษ 1950 เศรษฐกิจออสเตรเลียพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็ว เกิดโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ระดับชาติ เช่น Snowy Mountains Scheme ซึ่งเป็นแผนกำลังไฟฟ้าพลังน้ำ ตั้งอยู่ในภูเขาบริเวณภาคตะวันออกเฉียงใต้ของออสเตรเลีย รวมถึงชานเมืองออสเตรเลียก็เริ่มมีความเจริญแผ่ไปถึง ทำให้อัตราผู้เป็นเจ้าของบ้านเพิ่มมากขึ้นจากร้อยละ 40 ในปี ค.ศ.1947 เป็นร้อยละ 70 ในทศวรรษ 1960
การพัฒนาอื่น ๆ รวมถึงการรักษาความปลอดภัยทางสังคมของรัฐบาลและการเริ่มเผยแพร่สัญญาณโทรทัศน์ และในปี ค.ศ.1956 เมืองเมลเบิร์นได้เป็นเจ้าภาพจัดกีฬาโอลิมปิก ทำให้ออสเตรเลียได้ส่องแสงประกายไปในระดับนานาชาติช่วงทศวรรษ 1960 เป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงของออสเตรเลีย โดยเฉพาะในปี ค.ศ. 1967 ชาวออสเตรเลียได้ลงประชามติระดับชาติ โดยมีคะแนนเสียงอย่างท่วมท้นให้รัฐบาลแห่งชาติมีอำนาจผ่านกฎหมายที่ทำในนามของชนพื้นเมืองออสเตรเลีย เพื่อพัฒนาเงื่อนไขความเป็นอยู่ของชาวอะบอริจินและชาวเกาะทอเรส สเตรท ซึ่งในปัจจุบันจำนวนชนพื้นเมืองมีอยู่มากกว่าร้อยละ 2 ของประชากรทั้งประเทศ
นอกจากนี้ รัฐบาลออสเตรเลียได้ดำเนินบทบาทที่สำคัญ โดยการพยายามสร้างความสมานฉันท์ระหว่างกลุ่มชนพื้นเมืองและที่มิใช่ชนพื้นเมือง การดำเนินการที่สำคัญ คือ การออกมากล่าวขอโทษอย่างเป็นทางการของรัฐบาลเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2008 ในกรณีที่มีการแยกเด็กชาวพื้นเมืองออกจากครอบครัวดั้งเดิมเพื่อต้องการลบล้างวัฒนธรรม
ประเทศออสเตรเลียในปัจจุบัน นับเป็นประเทศที่มีความมั่นคงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม การศึกษาและวัฒนธรรมที่จะเจริญต่อไป
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์
ออสเตรเลียเป็นทวีปเกือบสุดท้ายที่ชาวยุโรปเดินทางมาพบ ก่อนหน้านี้ชาวยุโรป ไม่ทราบว่ายังมีดินแดนทางตอนใต้
เพียงแต่คาดว่าน่าจะมี ในสมัยกรีกโบราณ นักภูมิศาสตร์ชื่อ ปโตเลมี ได้เขียนแผนที่โลก โดยแสดงให้เห็นว่าทางตอนใต้ของทวีปแฟริกา
มีดินแดนเชื่อมต่อกับทางตอนใต้ของทวีปเอเชีย ซึ่งปิดล้อม มหา สมุทรอินเดียไว้ และตั้งชื่อดินแดนส่วนนั้นว่า “แทร์รา อินคอกนิตา” Terra Incognita แปลว่า ดินแดนที่ยังไม่รู้จัก
ต่อมาในสมัยกลาง นักภูมิศาสตร์ก็ยังเชื่อว่าดินแดนทางใต้นี้มีอยู่ จึงปรากฏแผนที่หลายฉบับที่เขียนขึ้นในสมัยกลาง ที่แสดงที่ตั้งของแผ่นดินขนาดใหญ่ทางตอนใต้ ของมหาสมุทรอินเดียแบบเดียวกับ ปโตเลมี แต่เรียกดินแดนนี้ว่า แทร์รา ออสตราลิส Terra Australis แปลว่า ดินแดนทางใต้ ซึ่งชื่อนี้กลายเป็นชื่อของทวีปและประเทศออสเตรเลีย ในปัจจุบัน
การค้นพบออสเตรเลียของชาวยุโรปได้รับการบันทึกไว้ครั้งแรกในเดือนมีนาคม ค.ศ.1606 เมื่อชาวนักสำรวจชาวฮอลันดา ชื่อ วิลเลม แจนสซูน Willem Janszoon ค.ศ.1571-1638 ทำแผนที่ชายฝั่งของแหลมเคปยอร์กและคาบสมุทรเพนินซูลา Cape York and Peninsula ของรัฐควีนสแลนด์ จากการค้นพบครั้งนั้น ทำให้เริ่มมีการทำแผนที่ชายฝั่งตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย ต่อมา ในปี ค.ศ. 1642 นักเดินเรือ ชาวฮอลันดา ชื่อ อเบล แทสมัน ได้เดินเรือจากมหาสมุทรอินเดียอ้อมไปทางใต้ของออสเตรลีย จนพบเกาะ ซึ่งเขาเรียกชื่อว่า เกาะแวนดีเมน Van Diemen’s Land ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นเกาะแทสมาเนียเพื่อเป็นเกียรติแก่ อเบล แทสมัน และเรียกดินแดนที่ค้นพบนี้ว่า “นิวฮอลแลนด์” New Holland แต่ขณะนั้นยังไม่มีความตั้งใจที่จะประกาศยึดครองดินแดนดังกล่าว ต่อมาในปีเดียวกัน นักสำรวจชาวสเปน ชื่อ หลุยส์ วาเอซ เดอ ทอเรส Luis Vaez de Torres ได้เดินเรือผ่านช่องแคบระหว่างออสเตรเลียและปาปัวนิวกินี จึงเรียกบริเวณนี้ว่า “ช่องแคบทอเรส”
จากนั้นในปี ค.ศ.1688 วิลเลียม แดมเปียร์ William Dampier เป็นนักเดินเรือชาวอังกฤษคนแรกที่เข้าไปตั้งถิ่นฐาน บนชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกเฉียงเหนือของออสเตรเลีย โดยเขียนชื่อไว้บนสังกะสีตอกติดไว้บนต้นไม ้เพราะพบคนพื้นเมืองแสดงอาการเป็นศัตรูและสภาพภูมิอากาศแห้งแล้งจึงไม่สนใจ ต่อมาในปี ค.ศ.1770 กัปตันเจมส์ คุก James Cook ชาวอังกฤษ ได้ล่องเรือมาสำรวจและได้จัดทำแผนที่ทางด้านชายฝั่งตะวันออกของทวีปออสเตรเลีย เห็นสภาพภูมิอากาศคล้ายแคว้นเวลส์ของสหราชอาณาจักรจึงได้ตั้งชื่อดินแดนแถบนั้นว่า “นิวเซาท์เวลส์” New South Wales พร้อมกันนั้น ได้ประกาศให้เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร แล้วยึดครองออสเตรเลีย เป็นอาณานิคม
สาเหตุที่รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจส่งนักโทษมาตั้งถิ่นฐานที่ออสเตรเลียเนื่องจาก อังกฤษได้สูญเสียอาณานิคมในทวีปอเมริกาเหนือ และต้องการระบายนักโทษที่แออัดอยู่ในคุกของประเทศอังกฤษ โดยกัปตันอาร์เธอร์ฟิลลิป Arthur Philip เป็นผู้ควบคุมนักโทษกลุ่มแรกได้เดินทางมาถึงอ่าวซิดนีย์ เมื่อวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 1788 และได้ย้ายมาตั้งถิ่นฐานถาวรบริเวณ อ่าว พอร์ต แจคสัน แล้วตั้งชื่อว่า ซิดนีย์ โคฟ ในวันที่ 26 มกราคม 1788 (ถือเป็นวันชาติออสเตรเลีย) นับเป็นจุดเริ่มต้นของการตั้งถิ่นฐานในทวีปออสเตรเลียของชาวอังกฤษ
ผู้ตั้งถิ่นฐานในยุคแรกส่วนใหญ่จะเป็นนักโทษและครอบครัวของทหารแล้ว อีกส่วนหนึ่งคือ ผู้ที่ตั้งใจย้ายมาตั้งถิ่นฐานใหม่ซึ่งรวมถึงชนชาติอื่น ๆ อาทิ อิตาเลียน กรีกและชาวยุโรปชาติอื่น ๆ ตลอดจนชาวเอเชีย อาทิ จีน มาเลเซีย อินโดนีเซีย เป็นต้น โดยเริ่มตั้งถิ่นฐานครั้งแรกบริเวณอ่าวโบตานีเมืองซิดนีย์ ในปัจจุบัน
ต่อมามีการค้นพบทองคำ ในปี ค.ศ. 1800 จัดว่าเป็นยุค “ตื่นทอง” GOLD RUSH ส่งผลให้ผู้ที่มิใช่นักโทษอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในทวีปออสเตรเลียมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยกลุ่มคนที่มามีทั้งชาวอังกฤษ ไอร์แลนด์ เยอรมัน จีน นอกจากนี้ ยังมีชาวแอฟริกันอพยพเข้ามาและมีการนำ อูฐ เข้ามาด้วย เพื่อออกสำรวจในพื้นที่ภายในทวีป
ปรากฏว่าช่วงระยะเวลา เพียง 10 ปี ระหว่าง ค.ศ. 1853-1863 ประชากรในอาณานิคม วิตอเรีย เพิ่มขึ้นจาก 77,000 คน เป็น 540,000คน ผลของการตื่นทอง เป็นเหตุให้มีผู้คนอพยพเข้าไปในออสเตรเลียเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะชาวจีน ได้เดินทางเข้าไปแสวงโชคหางานทำ ชาวอาณานิคมที่เป็นชาวผิวขาวเริ่มวิตกกังวลและตั้งข้อรังเกียจชาวจีนที่เข้ามาแย่งอาชีพ รัฐบาลของออสเตรเลีย จึงได้ใช้ นโยบายออสเตรเลียขาว White australian policy เพื่อจำกัดคนที่ไม่ใช่ผิวขาวเข้าเมือง โดยพาะชาวจีน
การตั้งถิ่นฐานบนเกาะแทสเมเนีย หรือ ชื่อที่เรียกในขณะนั้นคือ แวนไดเมนส์แลนด์ Van Diemen’s Land ซึ่งต่อมาในปี ค.ศ. 1825 แยกออกมาเป็นอีกรัฐหนึ่ง ชื่อ รัฐแทสเมเนีย ตามชื่อ นักเดินเรือ อเบลแจนซูน ทัสมัน Abel Janszoon Tasman
นับตั้งแต่ต้นทศวรรษ 1850 อุตสาหกรรมขนสัตว์ การขุดทอง การขาดแคลนแรงงาน แผ่นดินอันกว้างใหญ่สำหรับการเพาะปลูก การทำเหมืองแร่ และการค้าขาย ได้ทำให้ออสเตรเลียเป็นดินแดนแห่งโอกาส และเป็นแรงกระตุ้นให้คนจากพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วโลกหลั่งไหลมาตั้งถิ่นฐานในดินแดนออสเตรเลียเพิ่มจำนวนมากขึ้น
ในปี ค.ศ.1829 สหราชอาณาจักรได้ประกาศยึดครองดินแดนทางฝั่งตะวันตกของทวีปออสเตรเลีย และได้แยกดินแดนทางด้านตะวันตกออกจาก นิวเซาท์เวลส์ มาเป็นอีกหลายมลรัฐ ได้แก่ รัฐออสเตรเลียใต้ ในปี ค.ศ.1836 รัฐนี้เรียกว่าเป็น พื้นที่เสรี Free Province คือ เป็นรัฐที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการรองรับนักโทษ Penal Colony รัฐวิคตอเรีย ในปี ค.ศ.1851 และรัฐควีนส์แลนด์ ในปี ค.ศ.1859 ในส่วนของเขตการปกครอง เทอร์ริทอรีเหนือNorthern Territory ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ.1911 โดยเป็นส่วนที่ตัดออกมาจากรัฐออสเตรเลียใต้
ในปี ค.ศ.1848 นับเป็นปีแห่งการยุติการขนส่งนักโทษมายังทวีปออสเตรเลีย เนื่องจากมีการรณรงค์ยกเลิกมาตรการดังกล่าวโดยกลุ่มผู้ตั้งถิ่นฐาน ประเทศออสเตรเลียจึงไม่ใช่ดินแดนอาณานิคมของนักโทษอีกต่อไป
ก่อนที่ชนชาติยุโรปจะย้ายถิ่นฐานมาที่ทวีปออสเตรเลีย บนทวีปนี้มีชนพื้นเมืองอาศัยอยู่ ซึ่งจำนวนประชากรในขณะนั้นคาดว่าประมาณ 315,000 คน แต่วิถีชีวิตของชนพื้นเมืองเหล่านี้ถูกเปลี่ยนไปเมื่ออังกฤษเข้ามายึดครองและประกาศเป็นพื้นที่อาณานิคม ซึ่งต่อมาทำให้ชนพื้นเมืองมีจำนวนลดน้อยลง โดยในช่วงปี ค.ศ.1930 จำนวนประชากรลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 20 ของจำนวนประชากรเริ่มแรก
สรุปนับตั้งแต่ปี ค.ศ.1788 มีชายหญิงประมาณ 160,000 คน ที่อพยพไปออสเตรเลียในฐานะเสมือนนักโทษ อย่างไรก็ตาม ในช่วงเวลานี้ชนพื้นเมืองของออสเตรเลียได้เผชิญความยากลำบาก จากการรุกรานของผู้อพยพที่อ้างสิทธิในฐานะเจ้าอาณานิคม มีการขับไล่ออกจากพื้นที่ และการเข้ายึดทรัพย์ ในขณะเดียวกัน ชนพื้นเมืองต้องอยู่อย่างลำบาก เจ็บไข้ได้ป่วยและการเสียชีวิต ตลอดจนวิถีชีวิตดั้งเดิมและธรรมเนียมปฏิบัติถูกทำลาย
ใน ค.ศ. 1914 ออสเตรเลียได้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายต่อประเทศออสเตรเลียเป็นอย่างมาก ผู้ชายออสเตรเลียเกือบ 3 ล้านคน และอาสาสมัครเกือบ 400,000 คนต้องเข้าร่วมรบในสงคราม ผลจากสงครามทำให้มีผู้เสียชีวิตประมาณ 60,000 คนและได้รับบาดเจ็บหลายหมื่นคน
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 กองกำลังของออสเตรเลียมีส่วนสนับสนุนครั้งสำคัญในการเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับยุโรป เอเชียและภาคพื้นแปซิฟิก ได้เข้าสู้รบในสงครามและได้รับชัยชนะอย่างน่าภาคภูมิใจ
อย่างไรก็ตาม ช่วงเวลาระหว่างสงครามโลก เป็นเวลาที่ประเทศไร้เสถียรภาพ เศรษฐกิจตกต่ำ และสถาบันทางการเงินของออสเตรเลียหลายแห่งล้ม
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง หรือหลังจากปี ค.ศ.1945 ออสเตรเลียได้เข้าสู่ช่วงเวลาแห่งความเจริญรุ่งเรือง กลับมาเฟื่องฟูอีกครั้งและเกิดความต้องการแรงงานอย่างมาก ผู้หญิงจำนวนมากเข้าไปทำงานในโรงงาน ขณะที่ผู้ชายที่กลับจากการออกรบในสงครามสามารถเข้ามาทำงานต่อได้
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ออสเตรเลียมีนโยบายที่ไม่แบ่งแยกหรือเลือกปฏิบัติในระดับสากลและที่นี่จึงเป็นบ้านสำหรับประชาชนที่มาจากกว่า 200 ประเทศ
ในช่วงทศวรรษ 1950 เศรษฐกิจออสเตรเลียพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็ว เกิดโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ระดับชาติ เช่น Snowy Mountains Scheme ซึ่งเป็นแผนกำลังไฟฟ้าพลังน้ำ ตั้งอยู่ในภูเขาบริเวณภาคตะวันออกเฉียงใต้ของออสเตรเลีย รวมถึงชานเมืองออสเตรเลียก็เริ่มมีความเจริญแผ่ไปถึง ทำให้อัตราผู้เป็นเจ้าของบ้านเพิ่มมากขึ้นจากร้อยละ 40 ในปี ค.ศ.1947 เป็นร้อยละ 70 ในทศวรรษ 1960
การพัฒนาอื่น ๆ รวมถึงการรักษาความปลอดภัยทางสังคมของรัฐบาลและการเริ่มเผยแพร่สัญญาณโทรทัศน์ และในปี ค.ศ.1956 เมืองเมลเบิร์นได้เป็นเจ้าภาพจัดกีฬาโอลิมปิก ทำให้ออสเตรเลียได้ส่องแสงประกายไปในระดับนานาชาติช่วงทศวรรษ 1960 เป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงของออสเตรเลีย โดยเฉพาะในปี ค.ศ. 1967 ชาวออสเตรเลียได้ลงประชามติระดับชาติ โดยมีคะแนนเสียงอย่างท่วมท้นให้รัฐบาลแห่งชาติมีอำนาจผ่านกฎหมายที่ทำในนามของชนพื้นเมืองออสเตรเลีย เพื่อพัฒนาเงื่อนไขความเป็นอยู่ของชาวอะบอริจินและชาวเกาะทอเรส สเตรท ซึ่งในปัจจุบันจำนวนชนพื้นเมืองมีอยู่มากกว่าร้อยละ 2 ของประชากรทั้งประเทศ
นอกจากนี้ รัฐบาลออสเตรเลียได้ดำเนินบทบาทที่สำคัญ โดยการพยายามสร้างความสมานฉันท์ระหว่างกลุ่มชนพื้นเมืองและที่มิใช่ชนพื้นเมือง การดำเนินการที่สำคัญ คือ การออกมากล่าวขอโทษอย่างเป็นทางการของรัฐบาลเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2008 ในกรณีที่มีการแยกเด็กชาวพื้นเมืองออกจากครอบครัวดั้งเดิมเพื่อต้องการลบล้างวัฒนธรรม
ประเทศออสเตรเลียในปัจจุบัน นับเป็นประเทศที่มีความมั่นคงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม การศึกษาและวัฒนธรรมที่จะเจริญต่อไป
วิธีการทางประวัติศาสตร์
คือกระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อให้ได้ความรู้และคำตอบที่เชื่อว่าสะท้อนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอดีตได้ถูกต้องมากที่สุด ซึ่งไม่มีใครสามารถตอบได้ว่าข้อเท็จจริงที่ถูกต้องคืออะไร ดังนั้น จึงต้องมีกระบวนการศึกษา และการใช้เหตุผลในการตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานและนำไปใช้อย่างถูกต้อง ทำให้การศึกษาประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่สะท้อนข้อเท็จจริงที่แตกต่างจากนิทาน นิยาย หรือเรื่องบอกเล่าที่เลื่อนลอย
การศึกษาประวัติศาสตร์เริ่มจากการตั้งคำถามพื้นฐานหลัก 5 คำถาม คือ "เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นในอดีต" (What), "เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นเมื่อไหร่" (When), "เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นที่ไหน" (Where), "ทำไมจึงเกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น" (Why), และ "เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร" (How) วิธิการทางประวัติศาสตร์ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ได้แก่
การรวบรวมหลักฐาน
การคัดเลือกหลักฐาน
การวิเคราะห์ ตีความ ประเมินหลักฐาน
การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของหลักฐาน
การนำเสนอข้อเท็จจริง
นอกจากนี้ รอบิน จี. คอลลิงวูด (R. G. Collingwood) นักปรัชญาประวัติศาสตร์คนสำคัญชาวอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผู้เป็นเจ้าของผลงานเรื่อง Idea of History ให้ความเห็นเกี่ยวกับวิธิการศึกษาประวัติศาสตร์ ดังนี้
วิธีการศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต่างจากการศึกษาหลักฐานทางวิทยาศาสตร์
นักประวัติศาสตร์ต้องระมัดระวังในการยืนยันความถูกต้องของหลักฐาน
การนำเสนอในลักษณะ "ตัด-แปะประวัติศาสตร์" ไม่ถูกต้องและเป็นวิธีการที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ ควรนำเสนอโดยการประมวลความคิดให้เป็นข้อสรุป
วิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีลักษณะเป็นแบบวิทยาศาสตร์คือการตั้งคำถาม
วิธีการทางประวัติศาสตร์
1. วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง วิธีการที่ผู้ต้องการสืบค้น เรื่องราวในอดีต ใช้ในการศึกษา ค้นคว้า และเรียบเรียงเรื่องราวทาง ประวัติศาสตร์
2. วิธีการทางประวัติศาสตร์มีความ สำาคัญ คือ สามารถใช้ในการสืบค้นเรื่อง ราวต่าง ๆ ที่สนใจได้ เช่น การหาความ รู้เกี่ยวกับ โรงเรียน วัด ชุมชน จังหวัด หรือภูมิภาคของตน ซึ่งเป็นเรื่องราว ใกล้ ตัวและเราสามารถหาหลักฐาน ได้จาก แหล่งข้อมูลที่มี อยู่ในพื้นที่ เช่น วัด พิพิธภัณฑ์ สถานที่สำาคัญในท้องถิ่น เป็นต้น
3. การใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ถ้านักเรียนสนใจอยากทราบว่า จังหวัดของเรามีประวัติความเป็นมา อย่างไร มีเรื่องราวใด ที่น่าสนใจน่ารู้บ้าง นักเรียนสามารถใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ศึกษาค้นคว้าได้ตามขั้นตอน
4. กำาหนดเรื่องที่จะศึกษา เป็นขั้นตอนแรกของวิธีการ ศึกษาหาความรู้ โดยตั้งประเด็นคำาถาม เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาที่แน่นอน ต้อง ถามตัวเองในประเด็นที่ต้องการรู้ ได้แก่ ใคร ทำาอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทำาไม อย่างไร และต้องเป็นคำาถามที่ตอบได้และ นำาไปสู่การค้นคว้าความรู้ที่ลึกซึ้ง หรือ
5. ตัวอย่าง ประเด็นการศึกษาเกี่ยวกับภูมิภาคอาจ เป็นเรื่องที่อยู่ใกล้ตัว และขยายขอบเขต การ ศึกษาออกไปเป็นระดับอำาเภอ ระดับจังหวัด และระดับภูมิภาค เช่น ประวัติวัดสำาคัญในชุมชน / อำาเภอ / จังหวัด / ภูมิภาค สถานที่สำาคัญในท้องถิ่น / จังหวัด / ภูมิภาค
6. ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล เมื่อมีประเด็นที่จะศึกษาแล้ว ขั้นต่อมาคือ การค้นคว้าและรวบรวมหลักฐานข้อมูลทุก ประเภทที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการศึกษา ทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้นและหลักฐานชั้นรอง หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร และหลักฐาน ที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งหลักฐาน ชั้นต้นจะมีความสำาคัญและน่าเชื่อถือกว่าหลัก ฐานชั้นรอง แต่หลักฐานชั้นรองจะช่วย อธิบายเรื่องราวให้เข้าใจง่ายกว่าหลักฐานชั้น ต้น โบราณสถานสบ โบราณสถาน โบราณวัตถุ
7. หลักฐานชั้นต้น ลักษณะ เป็นหลักฐานและข้อมูลที่เป็นของ ร่วมสมัยหรือเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง ตัวอย่างได้แก่ ข้อมูลจากการสอบถามผู้ที่ อยู่ในเหตุการณ์ บันทึกของผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ ภาพถ่าย วีดิโอเทป สิ่งของเครื่องใช้ สิ่ง ก่อสร้าง เป็นต้น
8. หลักฐานชั้นรอง ลักษณะ เป็นหลักฐานและข้อมูลที่เขียน หรือรวบรวมไว้ภายหลังเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้น โดยใช้ข้อมูลจากหลักฐานชั้นต้น ตัวอย่างได้แก่ บทความทางวิชาการ หนังสือต่าง ๆ
9. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ลักษณะ เป็นหลักฐานข้อมูลที่เป็นตัวหนังสือ ตัวอย่างได้แก่ จารึก พงศาวดาร จดหมายเหตุ หนังสือพิมพ์ จดหมาย บันทึก เอกสารทางราชการ เป็นต้น
10. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ลักษณะ เป็นหลักฐานข้อมูลที่ไม่เป็นตัวหนังสือ ตัวอย่างได้แก่ เครื่องมือเครื่องใช้ของคนใน สมัยต่าง ๆ วัด เจดีย์ อนุสาวรีย์ เครื่องประดับ อาคารบ้านเรือนเครื่องปั้นดินเผา เป็นต้น พระพุทธรูปหินทรายที่จัด เก็บในพิพิธภัณฑ์เวียงพยาว เครื่องถ้วยชาม ภายในหอ วัฒนธรรมนิทัศน์พะเยา
11. ตรวจสอบหลักฐาน ขั้นตอนนี้คือ การตรวจสอบข้อมูลหลักฐาน ที่เรารวบรวมมาว่ามีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ มากน้อยเพียงใด วิธีการตรวจสอบหลักฐาน ได้แก่ เปรียบ เทียบจากข้อมูลหลาย ๆ ฉบับว่าเหมือนหรือ ต่างกันอย่างไร พิจารณาจากหลักฐานที่มีอยู่ หรือว่าหลักฐานดังกล่าวผ่านการตรวจสอบ ความถูกต้อง จากผู้เชี่ยวชาญมาแล้ว เรียกวิธี การนี้ว่า การวิพากษ์หลักฐาน
12. การวิพากษ์หลักฐาน แบ่งเป็น 2 ลักษณะ การวิพากษ์ภายนอก คือตรวจสอบและ พิจารณาคุณค่าหลักฐานว่าเป็นของจริงหรือ ปลอม ชำารุดหรือไม่ อายุของหลักฐาน คัด ลอกมาถูกหรือไม่ ผู้สร้างหลักฐานมีความเป็น มาอย่างไร การวิพากษ์ภายใน คือการตรวจสอบความ ถูกต้อง ความน่าเชื่อถือของข้อมูลว่ามีคุณค่า ทางประวัติศาสตร์เพียงใด สอดคล้องกับข้อมูล ในหลักฐานอื่นหรือไม่
13. การตีความหลักฐาน เมื่อรวบรวมและตรวจสอบความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือแล้ว พิจารณาศึกษาความหมาย ในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาแอบแฝง หรือไม่ อย่างไร ซึ่งจะต้องเข้าใจความหมาย ทัศนคติ ความเชื่อ สภาพแวดล้อม ของผู้เขียน และสังคมในยุคสมัยนั้นประกอบด้วย ซึ่งต้อง อาศัยความรู้จากหลายสาขาวิชา และที่สำาคัญ ต้องมีใจเป็นกลาง ไม่มีอคติ เพื่อให้ได้ข้อเท็จ จริงทางประวัติศาสตร์ที่ใกล้เคียงกับความเป็น จริงมากที่สุด
14. การนำาเสนอข้อมูล เป็นขั้นตอนสุดท้ายของวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ โดยผู้ศึกษาต้องนำข้อมูลที่ผ่าน การตรวจสอบ และเลือกสรรแล้ว มาเรียบเรียง เพื่อตอบคำาถามหรืออธิบายข้อสงสัยตามประเด็น ที่ต้องการศึกษาโดยใช้หลักฐานข้อมูลต่างๆ มา อ้างอิงอย่างเป็นเหตุเป็นผล การนำาเสนอสู่สาธารณะผ่านการเขียนบทความ การประชุม สัมมนา อภิปราย รายงาน บรรยาย ซึ่งการนำาเสนอข้อมูลเช่นนี้นำาไปสู้การสร้างแนว ความคิดใหม่ หรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ทาง ประวัติศาสตร์
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ทวีปแอฟริกา
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ทวีปแอฟริกา
ประวัติความเป็นมาของทวีปแอฟริกา
ถึงแม้ว่าทวีปแอฟริกา จะเป็นที่รู้จักกันทั่วไปมาก่อน ในกลุ่มชาวยุโรปว่าเป็น ทวีปมืด หรือ กาฬทวีป (Dark Continent) ก็ตาม
แต่บริเวณตอนเหนือของทวีป เคยเป็นดินแดนที่ยอมรับกัน ในประวัติศาสตร์ว่าเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่เก่าที่สุด
บริเวณดังกล่าวได้แก่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำไนล์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศยิอิปต์
อารยธรรมอียิปต์ เริ่มต้นเมื่อประมาณ 3,500 ปี ก่อนคริสต์กาล ความเจริญของอียิปต์บางอย่าง มีส่วน เสริมสร้างและเป็นรากฐานความเจริญของอารยธรรมยุโรปด้วย
ผลงานทางด้านศิลปวัฒนธรรม ของชาวอียิปต์นับว่าเด่นกว่าของชนชาติใดๆ ในสมัยเดียวกัน
ไม่ว่าจะเป็นด้านศิลปะหรือวัฒธรรม วิวัฒนาการ ของปกครองของชาวอียิปต์ ที่เริ่มต้นจากการรวมตัวเป็นหมู่บ้านในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มาเป็นสองอาณาจักรและรวมเป็นประเทศ
รวมทั้งความสามารถในการจัดระบบการปกครองของกษัตริย์ ที่เน้นการดึงอำนาจมาสู่ศูนย์กลาง
มีผลทำให้อียิปต์มีระบบการปกครอง ที่มั่นคงอย่างยิ่งในสมัยโบราณชาวอียิปต์ เป็นชนชาติแรกที่ให้มรดกแก่โลกทางด้านวัฒนธรรมภาษา กล่าวคือ เป็นชนชาติแรกที่ประดิษฐ์ตัวอักษร
ตัวอักษรอียิปต์รุ่นแรก คืออักษรเฮียโรกลิฟฟิค (Hieroglyphic) มีลักษณะเป็นอักษรภาพ
ความเชื่อในศาสนาโดยเฉพาะความเชื่อในเรื่องการเวียนว่ายตายเกิด ซักนำให้ชาวอียิปต์ค้นคว้าการทำมัมมี่ เพื่อเก็บรักษาศพมิให้เน่าเปื่อย เพื่อรอการกลับคืนมาของวิญญาณ
และยังเชื่อมโยงไปสู่ผลงานที่เด่นที่สุดทางด้านสถาปัตยกรรม คือการสร้างพีระมิด ซึ่งใช้เป็นสถานที่เก็บศพของฟาโรห์
นอกจากนี้ชาวอียิปต์ ยังมีความสามารถทางด้านการชลประทาน เลขคณิต เรขาคณิตและการแพทย์อีกด้วย
อาณาจักรอียิปต์โบราณ มีความเจริญรุ่งเรืองติดต่อกันมานานหลายพันปี จนกระทั่งระยะหลังได้ถูกต่างชาติ สับเปลี่ยนกันเข้ามาครอบครอง อาทิเช่น อัลซีเรียน เปอร์เซียน กรีก โรมัน
โดยเฉพาะอาหรับ ที่เข้ามาครอบแทนที่โรมัน ใน ค.ศ. 1185 ซึ่งมีผลทำให้ดินแดนตอนเหนือของทวีปแอฟริกา รับถ่ายทอดวัฒนธรรมมุสลิมไว้ทั้งหมด
ส่วนการสำรวจภายในทวีปแอฟริกา เริ่มมีอย่าจริงจัง ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ภายหลังการปฎิวัติอุตสาหกรรม ทำให้เกิดความต้องการแสวงหาแหล่งวัตถุดิบใหม่ มาป้อนโรงงานอุตสาหกรรม
แหล่งเชื้อเพลิงใหม่คือน้ำมัน แหล่งแร่ ทองคำ รวมทั้งแหล่งระบายพลเมือง ที่เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว
ชาวยุโรปจึงมีความเห็นว่า ทวีปแอฟริกาน่าจะเป็นดินแดนที่ช่วยแก้ปัญหาเหล่านั้นได้ จึงเริ่มให้ความสนใจที่จะเดินทางเข้าไปสำรวจภายในทวีป เพื่อจับจองไว้เป็นอาณานิคม
แทนที่จะเดินทางสำรวจชายฝั่งทะเล อย่างที่เคยกระทำมา เมื่อครั้งเริ่มแสวงหาเส้นทางเดินเรือไปยังทวีปเอเซีย
คริสต์ศตวรรษที่ 15 – 16 เบลเยียมเป็นชนชาติแรก ที่เริ่มเข้าไปบุกเบิก และได้ทำการจับจองบริเวณสองฝั่งแม่น้ำซาอีร์ (คองโก) ไว้ใน ค.ศ. 1876
บรรดาประเทศในยุโรปทั้งหลาย อังกฤษและฝรั่งเศสนับว่าเป็นคู่แข่งขันสำคัญในการยึดครองดินแดนในทวีปแอฟริกา
ดินแดนของฝรั่งเศสส่วนใหญ่จะอยู่ในบริเวณชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ไปจนถึงทะเลทรายและฮารา
ส่วนอังกฤษได้เข้าครอบครองบริบริเวณแอฟริกาทางเหนือ ตะวันตก ตะวันออก และตอนใต้ ซึ่งส่วนใหญ่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรมีค่า
นอกจากนี้ประเทศอื่น ๆ เช่น อิตาลี สเปน เยอรมัน โปรตุเกส ได้พากันยึดครองดินแดนต่าง ๆ จนในที่สุดเหลือประเทศที่เป็นอิสระเพียง 2 แห่ง คือ ไลบีเรีย และเอธิโอเปีย เท่านั้น
การแข่งขันในการแสวงหาอาณานิคมในทวีปแอฟริการดังกล่าวนำไปสู่ความขัดแย้งกัน ระหว่างประเทศมหาอำนาจ และเป็นสาเหตุหนึ่งของสงครามโลก ครั้งที่ 1 (ค.ศ.1914 – 1918)
นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ.1939 – 1945 ) เป็นต้นมา ประเทศต่าง ๆ ในทวีปแอฟริกา ต่างก็ดิ้นรนในการเรียกร้องเอกราชกันเรื่อยมา และต่างก็ประสบความสำเร็จในการปกครองตนเอง
อย่างไรก็ตาม การที่แอฟริกาเป็นทวีปใหญ่ที่ประกอบด้วยประเทศใหญ่เล็กมากมาย
จึงเป็นดินแดนที่ต้องเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ปัญหาสำคัญที่สุดคือปัญหา ทางเศรษฐกิจสังคม ที่นำไปสู่การขาดความมั่นคง ทางการเมืองในหลายประเทศ
นอกจากนี้ยังมีปัญหาอันเกิดจากนโยบายการแบ่งแยกผิว คือนโยบายอะพาร์ดไฮต์ (Apartheid) ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ที่รัฐบาลเป็นคนผิวขาว และชนผิวดำไม่ได้รับความเป็นธรรม ซึ่งยังเป็นปัญหาที่แก้ไขไม่ได้มาในปัจจุบัน
ประวัติความเป็นมาของทวีปแอฟริกา
ถึงแม้ว่าทวีปแอฟริกา จะเป็นที่รู้จักกันทั่วไปมาก่อน ในกลุ่มชาวยุโรปว่าเป็น ทวีปมืด หรือ กาฬทวีป (Dark Continent) ก็ตาม
แต่บริเวณตอนเหนือของทวีป เคยเป็นดินแดนที่ยอมรับกัน ในประวัติศาสตร์ว่าเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่เก่าที่สุด
บริเวณดังกล่าวได้แก่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำไนล์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศยิอิปต์
อารยธรรมอียิปต์ เริ่มต้นเมื่อประมาณ 3,500 ปี ก่อนคริสต์กาล ความเจริญของอียิปต์บางอย่าง มีส่วน เสริมสร้างและเป็นรากฐานความเจริญของอารยธรรมยุโรปด้วย
ผลงานทางด้านศิลปวัฒนธรรม ของชาวอียิปต์นับว่าเด่นกว่าของชนชาติใดๆ ในสมัยเดียวกัน
ไม่ว่าจะเป็นด้านศิลปะหรือวัฒธรรม วิวัฒนาการ ของปกครองของชาวอียิปต์ ที่เริ่มต้นจากการรวมตัวเป็นหมู่บ้านในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มาเป็นสองอาณาจักรและรวมเป็นประเทศ
รวมทั้งความสามารถในการจัดระบบการปกครองของกษัตริย์ ที่เน้นการดึงอำนาจมาสู่ศูนย์กลาง
มีผลทำให้อียิปต์มีระบบการปกครอง ที่มั่นคงอย่างยิ่งในสมัยโบราณชาวอียิปต์ เป็นชนชาติแรกที่ให้มรดกแก่โลกทางด้านวัฒนธรรมภาษา กล่าวคือ เป็นชนชาติแรกที่ประดิษฐ์ตัวอักษร
ตัวอักษรอียิปต์รุ่นแรก คืออักษรเฮียโรกลิฟฟิค (Hieroglyphic) มีลักษณะเป็นอักษรภาพ
ความเชื่อในศาสนาโดยเฉพาะความเชื่อในเรื่องการเวียนว่ายตายเกิด ซักนำให้ชาวอียิปต์ค้นคว้าการทำมัมมี่ เพื่อเก็บรักษาศพมิให้เน่าเปื่อย เพื่อรอการกลับคืนมาของวิญญาณ
และยังเชื่อมโยงไปสู่ผลงานที่เด่นที่สุดทางด้านสถาปัตยกรรม คือการสร้างพีระมิด ซึ่งใช้เป็นสถานที่เก็บศพของฟาโรห์
นอกจากนี้ชาวอียิปต์ ยังมีความสามารถทางด้านการชลประทาน เลขคณิต เรขาคณิตและการแพทย์อีกด้วย
อาณาจักรอียิปต์โบราณ มีความเจริญรุ่งเรืองติดต่อกันมานานหลายพันปี จนกระทั่งระยะหลังได้ถูกต่างชาติ สับเปลี่ยนกันเข้ามาครอบครอง อาทิเช่น อัลซีเรียน เปอร์เซียน กรีก โรมัน
โดยเฉพาะอาหรับ ที่เข้ามาครอบแทนที่โรมัน ใน ค.ศ. 1185 ซึ่งมีผลทำให้ดินแดนตอนเหนือของทวีปแอฟริกา รับถ่ายทอดวัฒนธรรมมุสลิมไว้ทั้งหมด
ส่วนการสำรวจภายในทวีปแอฟริกา เริ่มมีอย่าจริงจัง ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ภายหลังการปฎิวัติอุตสาหกรรม ทำให้เกิดความต้องการแสวงหาแหล่งวัตถุดิบใหม่ มาป้อนโรงงานอุตสาหกรรม
แหล่งเชื้อเพลิงใหม่คือน้ำมัน แหล่งแร่ ทองคำ รวมทั้งแหล่งระบายพลเมือง ที่เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว
ชาวยุโรปจึงมีความเห็นว่า ทวีปแอฟริกาน่าจะเป็นดินแดนที่ช่วยแก้ปัญหาเหล่านั้นได้ จึงเริ่มให้ความสนใจที่จะเดินทางเข้าไปสำรวจภายในทวีป เพื่อจับจองไว้เป็นอาณานิคม
แทนที่จะเดินทางสำรวจชายฝั่งทะเล อย่างที่เคยกระทำมา เมื่อครั้งเริ่มแสวงหาเส้นทางเดินเรือไปยังทวีปเอเซีย
คริสต์ศตวรรษที่ 15 – 16 เบลเยียมเป็นชนชาติแรก ที่เริ่มเข้าไปบุกเบิก และได้ทำการจับจองบริเวณสองฝั่งแม่น้ำซาอีร์ (คองโก) ไว้ใน ค.ศ. 1876
บรรดาประเทศในยุโรปทั้งหลาย อังกฤษและฝรั่งเศสนับว่าเป็นคู่แข่งขันสำคัญในการยึดครองดินแดนในทวีปแอฟริกา
ดินแดนของฝรั่งเศสส่วนใหญ่จะอยู่ในบริเวณชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ไปจนถึงทะเลทรายและฮารา
ส่วนอังกฤษได้เข้าครอบครองบริบริเวณแอฟริกาทางเหนือ ตะวันตก ตะวันออก และตอนใต้ ซึ่งส่วนใหญ่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรมีค่า
นอกจากนี้ประเทศอื่น ๆ เช่น อิตาลี สเปน เยอรมัน โปรตุเกส ได้พากันยึดครองดินแดนต่าง ๆ จนในที่สุดเหลือประเทศที่เป็นอิสระเพียง 2 แห่ง คือ ไลบีเรีย และเอธิโอเปีย เท่านั้น
การแข่งขันในการแสวงหาอาณานิคมในทวีปแอฟริการดังกล่าวนำไปสู่ความขัดแย้งกัน ระหว่างประเทศมหาอำนาจ และเป็นสาเหตุหนึ่งของสงครามโลก ครั้งที่ 1 (ค.ศ.1914 – 1918)
นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ.1939 – 1945 ) เป็นต้นมา ประเทศต่าง ๆ ในทวีปแอฟริกา ต่างก็ดิ้นรนในการเรียกร้องเอกราชกันเรื่อยมา และต่างก็ประสบความสำเร็จในการปกครองตนเอง
อย่างไรก็ตาม การที่แอฟริกาเป็นทวีปใหญ่ที่ประกอบด้วยประเทศใหญ่เล็กมากมาย
จึงเป็นดินแดนที่ต้องเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ปัญหาสำคัญที่สุดคือปัญหา ทางเศรษฐกิจสังคม ที่นำไปสู่การขาดความมั่นคง ทางการเมืองในหลายประเทศ
นอกจากนี้ยังมีปัญหาอันเกิดจากนโยบายการแบ่งแยกผิว คือนโยบายอะพาร์ดไฮต์ (Apartheid) ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ที่รัฐบาลเป็นคนผิวขาว และชนผิวดำไม่ได้รับความเป็นธรรม ซึ่งยังเป็นปัญหาที่แก้ไขไม่ได้มาในปัจจุบัน
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ทวีปยุโรป
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป เป็นทวีปที่อยู่บนผืนแผ่นดินเดียวกับทวีปเอเชีย มีลักษณะคล้ายกับเป็นคาบสมุทรใหญ่ของทวีปเอเชีย
จึงมีผู้เรียกทวีปยุโรป และเอเชียรวมกันว่า “ยูเรเซีย” พรมแดนธรรมชาติที่ใช้เป็นแนวแบ่งทวีปยุโรปกับทวีเอเชียออกจากกัน คือ แนว เทือกเขาอูราลและแม่น้ำอูราล
ที่ตั้ง
ทวีปยุโรปตั้งอยู่ระหว่างละติจูดประมาณ 36 องศาเหนือ ถึง 71 องศาเหนือ และลองจิจูดประมาณ 9 องศาตะวันตก ถึง ลองจิจูดประมาณ 66 องศาตะวันออก กล่าวคือ ทวีปยุโรป มีพื้นที่ทั้งหมดอยู่เหนือเส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ (ละติจูดที่ 23 ½ องศาเหนือ) ซึ่งอยู่ในเขตอากาศอบอุ่นเหนือเกือบทั้งหมดยกเว้นตอนเหนือสุดของทวีปเท่านั้นที่อยู่ในเขตอากาศหนาวเหนือ
ขนาด
ทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 10 ล้านตารางกิโลเมตร มีขนาดใหญ่เป็นลำดับที่ 6 ของโลก รองจากทวีปเอเชีย แอฟริกา อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ แอนตาร์กติกา แต่ใหญ่กว่าออสเตรเลีย
อาณาเขตติดต่อ มีดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับมหาสมุทรอาร์กติก และมีทะลต่าง ๆ ได้แก่ ทะเลขาว ทะเลแบเรนต์ส น่านน้ำเหล่านี้มีความสำคัญทางเศรษฐกิจน้อย มาก เพราะในฤดูหนาวจะปกคลุมไปด้วยน้ำแข็ง ใช้เดินเรือไม่ได้ คาบสมุทรสำคัญด้านนี้ ได้แก่ คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย คาบสมุทรจัตแลนด์
ทิศตะวันออก ติดต่อเป็นผืนแผ่นดนเดียวกันกับทวีปเอเชีย โดยมีเทือกเขาอูราล แม่น้ำอูราล และทะเลสาบแคสเปียนเป็นแนวพรมแดน
ทิศตะวันตก ติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก มีทะเลต่าง ๆ ได้แก่ ทะเลนอร์วิเจียน ทะเลเหนือ ทะเลไอริช และทะเลบอลติก เกาะ สำคัญทางด้านนี้ ได้แก่ เกาะบริเตนใหญ่ เกาะไอร์แลนด์ และเกาะไอซ์แลนด์
ทวีปยุโรปเป็นทวีปที่มีชายฝั่งทะเลที่ยาวที่สุดในโลก ทั้งนี้เพราะความเว้าแหว่งของชายฝั่งทะเลมีมากนั่นเอง
และยังทำให้มีคาบสมุทรหลายแห่ง ได้แก่
คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศนอร์เวย์และสวีเดิน คาบสมุทรจัดแลนด์เป็นที่ตั้งของประเทศเดนมาร์ก
คาบสมุทรไอบีเรียเป็นที่ตั้งของประเทศสเปนและโปรตุเกส
คาบสมุทรอิตาลี เป็นที่ตั้งของประเทศอิตาลี
คาบสมุทรบอลข่าน เป็นที่ตั้งของประเทศอดีตยูโกสลาเวีย แอลเบเนีย โรมาเนีย บัลแกเรีย แอลกรีซ (สาธารณรัฐเฮเลนิก)
คาบสมุทรไครเมียในประเทศยูเครน
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปเป็นดินแดนที่เคยเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณแห่งหนึ่ง ที่มีประวัติศาสตร์ความเจริญต่อเนื่องกันมาเป็นเวลากว่า 2000 ปี มาแล้ว
มีหลักฐานปรากฎอย่างชัดเจนว่า ความเจริญของทวีปยุโรปทีราก ฐาน กำเนิดจากอารายธรรมไมโนน (Minoan Civilization)
ที่มีศูนย์กลางอยู่ที่เกาะครีต(Crete)ตอนใต้ของคาบสมุทรบอลข่านในทะลเมดิเตอร์เรเนียน
อารยธรรมไมโนนเป็นอารยธรรม ที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างอารยธรรมโบราณ 2 แห่ง คือ
อารยธรรมอียิปต์ (ลุ่มแม่น้ำไนล์)
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย (ลุ่มแม่น้ำไทกรีส-ยูเฟรติส)
จนมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง และต่อมาได้แผ่ขยายไปยังดินแดนต่างๆ ในบริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
โดยเฉพาะคาบสมุทรบอลข่านและคาบสมุทรอิตาลี จึงนับว่าชนชาติกรีกและชนชาติโรมัน มีส่วนสำคัญที่สุดในการวางรากฐานความเจริญในยุโรป
ชนชาติกรีกเป็นพวกอินโดยูโรเปียนมีถิ่นฐานเดิมอยู่แถบแม่น้ำดานูบ ในเขตประเทศออสเตรียในปัจจุบัน ได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ในบริเวณคาบสมุทรบอลข่าน เมื่อประมาณ 2000 ปี ก่อนคริสต์กาล
กรีกเป็นชนชาติแรกที่ได้รับถ่ายทอดความเจริญ ของอารยธรรมไมโนน ไปจากเกาะครีต
และหลังจากนั้นชนชาติโรมันซึ่งตั้งถิ่นฐานในบริเวณคาบสมุทรอิตาลี ก็ได้รับความเจริญไปจากชนชาติกรีกอีกทอดหนึ่ง
กรีกได้ทิ้งมรดกทางศิลปะวัฒนธรรมอันมีค่าหลายประการไว้แก่โลกตะวันตก เพราะกรีกเป็นนักคิดและนักสร้างสรรค์ ที่สำคัญ
ผลงานที่เด่นๆ ได้แก่ สถาปัตยกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม ปรัชญา
และที่สำคัญที่สุด คือ การปกครองระบอบประชาธิบไตย ที่นับว่าเป็นการวางรากฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย แก่ประเทศต่างๆ ในปัจจุบัน
ส่วน ชนชาติโรมัน นั้น แม้ว่าจะรับความเจริญต่างๆ ทางศิลปวัฒนธรรมมาจากกรีก แต่ก็รู้จักที่จะนำมาประยุกต์ดัดแปลงให้เกิดประโยชน์ทางด้านการใช้สอยให้คุ้มค่า
โดยเฉพาะการวางผังเมืองการวางท่อลำเลียงน้ำ ที่อาบน้ำสาธารณะ ผลงานทางศิลปะต่าง ๆ ที่สำคัญที่สุดคือ กฎหมายโรมัน ซึ่งเป็นรากฐานของการร่างกฎหมายประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป
โรมันเป็นชนชาติที่มีความสามารถกล้าหาญ ได้ขยายอำนาจครอบครองดินแดนกรีก และดินแดนของชนชาติอื่นๆ ในบริเวณใกล้เคียง
จนทำให้อาณาจักรโรมัน กลายเป็นจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดมีอาณา เขต ครอบคลุมเกือบทั่วภาคพื้นทวีปยุโรป
โดยมีอาณาเขต ตั้งแต่ตะวันตกของทวีปยุโรป คาบสมุทรอิตาลี คาบสมุทรบอลข่าน ดินแดนชายฝั่งตะวันออก ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตลอดไปจนถึงบริเวณตอนเหนือของทวีปแอฟริกา
จักรวรรดิโรมัน เป็นศูนย์กลางความเจริญ ของทวีปยุโรปอยู่ประมาณ 300 ปี ภายหลังที่มีการแบ่งแยกจักรวรรดิออกเป็น
จักรวรรดิโรมันตะวันตก โดยมีเมืองหลวงอยู่ทีกรุงโรม
และจักรวรรดิโรมันตะวันออก มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ในคริสต์ศตวรรษที่ 4 แล้ว
จักรวรรดิโรมันตะวันตกได้เริ่มเสื่อมลงตามลำดับ และในที่สุดได้ถูกพวกอนารยชนเยอรมัน เผ่าติวตันเข้ารุกรานและยึดครองใน ค.ศ.476
ซึ่งมีผลทำให้ความเจริญต่าง ๆ ทางศิลปวัฒนธรรมหยุดชะงักลง สภาพทางสังคมของจักรวรรดิโรมันตะวันตก ภายหลังการุกรานของอนารยชน เต็มไปด้วยความวุ่นวาย สับสน
บ้านเมืองระส่ำระสายไปทั่ว มีศึกสงครามติดต่อกันเกือบตลอดเวลา จนเป็นเหตุให้ ความก้าวหน้าทางศิลปวิทยาการของกรีก-โรมัน ต้องหยุดชะงักลง
และทำให้ทวีปยุโรปตกอยู่ในสภาวะที่เรียกว่า ยุคมืด Dark Ages ซึ่งอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5-10
ในระหว่างนั้นคริสต์ศาสนาได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของชาวยุโรป
เพราะเป็นระยะเวลาที่ประชาชน กำลังแสวงหาที่พึ่งทางใจ วัดและสันตะปาปา คือศูนย์รวมแห่งจิตใจของประชาชน คริสต์ศาสนาจึงขยายตัวอย่างรวดเร็วในระยะนั้น
อิทธิพลทั้งด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งศิลปวัฒนธรรมต่างๆ ชาวตะวันตกต่างพากันยอมรับ ในความยิ่งใหญ่ ่และอำนาจของพระเจ้า ในการดลบันดาลทุกสิ่งทุกอย่างให้เกิดขึ้น
จนทำให้เกิดความกลัวที่จะคิดหรือกระทำการใดๆ ที่นอกเหนือไปจากกฎเกณฑ์ที่ทางศาสนาได้กำหนดไว้
อย่างไรก็ตามในระยะคริสต์ศตวรรษที่ 14-16 ได้เกิดเหตุการณ์สำคัญที่ส่งผลกระทบต่อความเปลี่ยนแปลงสภาพทางสังคมของยุโรป ไปในทางที่ดี คือ การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ หรือ เรอเนสซองส์ Renaissance
ซึ่งทำให้มีการฟื้นฟูศิลปวิทยาการกรีก-โรมัน ที่หยุดชะงักไปตั้งแต่ยุคมืดขึ้นมาใหม่
และยังส่งผลต่อเนื่องไปสู่การริเริ่มแนวคิด เริ่มมองทุกอย่างในลักษณะของเหตุผล รู้จักใช้สติปัญญาตน พิจารณาแทนความเชื่องมงายอย่างไร้เหตุผล ดังที่เคยปฏิบัติมาในยุคมืด
เริ่มมีความคิดว่ามนุษย์สามารถที่จะพัฒนาตนเองได้ สามารถปรับปรุง ทุกอย่างให้ดีขึ้นได้ด้วยความสามารถตนเอง
สมัยเรอเนสซองส์จึงเป็นสมัยที่ก้าวไปสู่ความเจริญอย่างไม่หยุดยั้งของโลกตะวันตกในระยะต่อมา
ซึ่งขณะนั้นศูนย์กลางความเจริญของทวีปยุโรป ได้ย้ายมาอยู่ ในบริเวณประเทศต่างๆ ที่ก่อตั้งขึ้นในบริเวณยุโรปตะวันตก เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี เป็นต้น
นับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ทวีปยุโรปจึงก้าวเข้าสู่สภาพสังคมแบบสมัยใหม่ ที่สะท้อนให้เห็นการพัฒนา ในด้านความคิดริเริ่มสร้าง สรรค์ และความเป็นตัวของตัวเองของมนุษย์
อันนำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชาวยุโรป เป็นอย่างมาก อาทิ การปฏิวัติศาสนาที่เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 16
โดยนักบวชชาวเยอรมนี มาร์ติน ลูเธอร์ Martin Luthur ค.ศ.1483-1546 ทำให้มีการก่อตั้งนิกายโปรเตสแตนท์ ซึ่งแสดงให้เห็นความกล้าหาญ ในการแสดงออก
ซึ่งการต่อต้านคัดค้านนิกายดั้งเดิม คือ โรมันคาทอลิก ที่เคยมีอิทธิพลอย่างมากมาก่อน
นอกจากนี้ การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 16-17 มีผลทำให้มนุษย์เริ่มค้นคว้าหาความจริงจากธรรมชาติ
มีการพิสูจน์ว่าโลกกลม ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของสุริยจักรวาล ซึ่งมีผลต่อการริเริ่มสำรวจทางทะเล และการแสวงหาอาณานิคมกันอย่างกว้างขวางในคริสต์ศตวรรษที่ 16-17
และทำให้วัฒนธรรมตะวันตกได้แผ่ขยายไปยังดินแดนอาณานิคมต่างๆ ทั้งในทวีปเอเชีย ทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาใต้
รวมทั้งออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า เป็นระยะที่อิทธิพลของยุโรป ทางด้านศิลปวัฒนธรรมได้แผ่ขยายตัวไปทั่วโลก
การปฏิวัติอุตสาหกรรม ที่เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 18 โดยเริ่มต้นจากประเทศอังกฤษก่อน และต่อมาได้แผ่ขยายไปยังประเทศต่างๆ ในยุโรปตะวันตก
ก็นับว่าเป็นผลมาจากการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ที่นำไปสู่ความก้าวหน้า ทางด้านเทคโนโลยีอย่างไม่หยุดยั้ง
และส่งผลกระทบทำให้ทวีปยุโรปเป็นดินแดนที่นำหน้าทวีปอื่นๆ ทั้งทางด้านอุตสาหกรรม และเทคโนโลยีมาจนถึงปัจจุบัน
ดอริก
ไอโอนิก
โครินเธียน
ศิลปะโกธิค (Gothic)
หัวเสาเป็นอารยธรรมของกรีกโบราณ 3 แบบ
ศิลปะโกธิค
เริ่มต้นขึ้นปลายพุทธศตวรรษที่ 17 มีอิทธิพลอยู่ประมาณ 350 ปี
วิหารพาร์เธนอน(parthenon)
โคลอสเซียม(Colosseum)
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป เป็นทวีปที่อยู่บนผืนแผ่นดินเดียวกับทวีปเอเชีย มีลักษณะคล้ายกับเป็นคาบสมุทรใหญ่ของทวีปเอเชีย
จึงมีผู้เรียกทวีปยุโรป และเอเชียรวมกันว่า “ยูเรเซีย” พรมแดนธรรมชาติที่ใช้เป็นแนวแบ่งทวีปยุโรปกับทวีเอเชียออกจากกัน คือ แนว เทือกเขาอูราลและแม่น้ำอูราล
ที่ตั้ง
ทวีปยุโรปตั้งอยู่ระหว่างละติจูดประมาณ 36 องศาเหนือ ถึง 71 องศาเหนือ และลองจิจูดประมาณ 9 องศาตะวันตก ถึง ลองจิจูดประมาณ 66 องศาตะวันออก กล่าวคือ ทวีปยุโรป มีพื้นที่ทั้งหมดอยู่เหนือเส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ (ละติจูดที่ 23 ½ องศาเหนือ) ซึ่งอยู่ในเขตอากาศอบอุ่นเหนือเกือบทั้งหมดยกเว้นตอนเหนือสุดของทวีปเท่านั้นที่อยู่ในเขตอากาศหนาวเหนือ
ขนาด
ทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 10 ล้านตารางกิโลเมตร มีขนาดใหญ่เป็นลำดับที่ 6 ของโลก รองจากทวีปเอเชีย แอฟริกา อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ แอนตาร์กติกา แต่ใหญ่กว่าออสเตรเลีย
อาณาเขตติดต่อ มีดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับมหาสมุทรอาร์กติก และมีทะลต่าง ๆ ได้แก่ ทะเลขาว ทะเลแบเรนต์ส น่านน้ำเหล่านี้มีความสำคัญทางเศรษฐกิจน้อย มาก เพราะในฤดูหนาวจะปกคลุมไปด้วยน้ำแข็ง ใช้เดินเรือไม่ได้ คาบสมุทรสำคัญด้านนี้ ได้แก่ คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย คาบสมุทรจัตแลนด์
ทิศตะวันออก ติดต่อเป็นผืนแผ่นดนเดียวกันกับทวีปเอเชีย โดยมีเทือกเขาอูราล แม่น้ำอูราล และทะเลสาบแคสเปียนเป็นแนวพรมแดน
ทิศตะวันตก ติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก มีทะเลต่าง ๆ ได้แก่ ทะเลนอร์วิเจียน ทะเลเหนือ ทะเลไอริช และทะเลบอลติก เกาะ สำคัญทางด้านนี้ ได้แก่ เกาะบริเตนใหญ่ เกาะไอร์แลนด์ และเกาะไอซ์แลนด์
ทวีปยุโรปเป็นทวีปที่มีชายฝั่งทะเลที่ยาวที่สุดในโลก ทั้งนี้เพราะความเว้าแหว่งของชายฝั่งทะเลมีมากนั่นเอง
และยังทำให้มีคาบสมุทรหลายแห่ง ได้แก่
คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศนอร์เวย์และสวีเดิน คาบสมุทรจัดแลนด์เป็นที่ตั้งของประเทศเดนมาร์ก
คาบสมุทรไอบีเรียเป็นที่ตั้งของประเทศสเปนและโปรตุเกส
คาบสมุทรอิตาลี เป็นที่ตั้งของประเทศอิตาลี
คาบสมุทรบอลข่าน เป็นที่ตั้งของประเทศอดีตยูโกสลาเวีย แอลเบเนีย โรมาเนีย บัลแกเรีย แอลกรีซ (สาธารณรัฐเฮเลนิก)
คาบสมุทรไครเมียในประเทศยูเครน
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปเป็นดินแดนที่เคยเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณแห่งหนึ่ง ที่มีประวัติศาสตร์ความเจริญต่อเนื่องกันมาเป็นเวลากว่า 2000 ปี มาแล้ว
มีหลักฐานปรากฎอย่างชัดเจนว่า ความเจริญของทวีปยุโรปทีราก ฐาน กำเนิดจากอารายธรรมไมโนน (Minoan Civilization)
ที่มีศูนย์กลางอยู่ที่เกาะครีต(Crete)ตอนใต้ของคาบสมุทรบอลข่านในทะลเมดิเตอร์เรเนียน
อารยธรรมไมโนนเป็นอารยธรรม ที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างอารยธรรมโบราณ 2 แห่ง คือ
อารยธรรมอียิปต์ (ลุ่มแม่น้ำไนล์)
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย (ลุ่มแม่น้ำไทกรีส-ยูเฟรติส)
จนมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง และต่อมาได้แผ่ขยายไปยังดินแดนต่างๆ ในบริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
โดยเฉพาะคาบสมุทรบอลข่านและคาบสมุทรอิตาลี จึงนับว่าชนชาติกรีกและชนชาติโรมัน มีส่วนสำคัญที่สุดในการวางรากฐานความเจริญในยุโรป
ชนชาติกรีกเป็นพวกอินโดยูโรเปียนมีถิ่นฐานเดิมอยู่แถบแม่น้ำดานูบ ในเขตประเทศออสเตรียในปัจจุบัน ได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ในบริเวณคาบสมุทรบอลข่าน เมื่อประมาณ 2000 ปี ก่อนคริสต์กาล
กรีกเป็นชนชาติแรกที่ได้รับถ่ายทอดความเจริญ ของอารยธรรมไมโนน ไปจากเกาะครีต
และหลังจากนั้นชนชาติโรมันซึ่งตั้งถิ่นฐานในบริเวณคาบสมุทรอิตาลี ก็ได้รับความเจริญไปจากชนชาติกรีกอีกทอดหนึ่ง
กรีกได้ทิ้งมรดกทางศิลปะวัฒนธรรมอันมีค่าหลายประการไว้แก่โลกตะวันตก เพราะกรีกเป็นนักคิดและนักสร้างสรรค์ ที่สำคัญ
ผลงานที่เด่นๆ ได้แก่ สถาปัตยกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม ปรัชญา
และที่สำคัญที่สุด คือ การปกครองระบอบประชาธิบไตย ที่นับว่าเป็นการวางรากฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย แก่ประเทศต่างๆ ในปัจจุบัน
ส่วน ชนชาติโรมัน นั้น แม้ว่าจะรับความเจริญต่างๆ ทางศิลปวัฒนธรรมมาจากกรีก แต่ก็รู้จักที่จะนำมาประยุกต์ดัดแปลงให้เกิดประโยชน์ทางด้านการใช้สอยให้คุ้มค่า
โดยเฉพาะการวางผังเมืองการวางท่อลำเลียงน้ำ ที่อาบน้ำสาธารณะ ผลงานทางศิลปะต่าง ๆ ที่สำคัญที่สุดคือ กฎหมายโรมัน ซึ่งเป็นรากฐานของการร่างกฎหมายประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป
โรมันเป็นชนชาติที่มีความสามารถกล้าหาญ ได้ขยายอำนาจครอบครองดินแดนกรีก และดินแดนของชนชาติอื่นๆ ในบริเวณใกล้เคียง
จนทำให้อาณาจักรโรมัน กลายเป็นจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดมีอาณา เขต ครอบคลุมเกือบทั่วภาคพื้นทวีปยุโรป
โดยมีอาณาเขต ตั้งแต่ตะวันตกของทวีปยุโรป คาบสมุทรอิตาลี คาบสมุทรบอลข่าน ดินแดนชายฝั่งตะวันออก ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตลอดไปจนถึงบริเวณตอนเหนือของทวีปแอฟริกา
จักรวรรดิโรมัน เป็นศูนย์กลางความเจริญ ของทวีปยุโรปอยู่ประมาณ 300 ปี ภายหลังที่มีการแบ่งแยกจักรวรรดิออกเป็น
จักรวรรดิโรมันตะวันตก โดยมีเมืองหลวงอยู่ทีกรุงโรม
และจักรวรรดิโรมันตะวันออก มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ในคริสต์ศตวรรษที่ 4 แล้ว
จักรวรรดิโรมันตะวันตกได้เริ่มเสื่อมลงตามลำดับ และในที่สุดได้ถูกพวกอนารยชนเยอรมัน เผ่าติวตันเข้ารุกรานและยึดครองใน ค.ศ.476
ซึ่งมีผลทำให้ความเจริญต่าง ๆ ทางศิลปวัฒนธรรมหยุดชะงักลง สภาพทางสังคมของจักรวรรดิโรมันตะวันตก ภายหลังการุกรานของอนารยชน เต็มไปด้วยความวุ่นวาย สับสน
บ้านเมืองระส่ำระสายไปทั่ว มีศึกสงครามติดต่อกันเกือบตลอดเวลา จนเป็นเหตุให้ ความก้าวหน้าทางศิลปวิทยาการของกรีก-โรมัน ต้องหยุดชะงักลง
และทำให้ทวีปยุโรปตกอยู่ในสภาวะที่เรียกว่า ยุคมืด Dark Ages ซึ่งอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5-10
ในระหว่างนั้นคริสต์ศาสนาได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของชาวยุโรป
เพราะเป็นระยะเวลาที่ประชาชน กำลังแสวงหาที่พึ่งทางใจ วัดและสันตะปาปา คือศูนย์รวมแห่งจิตใจของประชาชน คริสต์ศาสนาจึงขยายตัวอย่างรวดเร็วในระยะนั้น
อิทธิพลทั้งด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งศิลปวัฒนธรรมต่างๆ ชาวตะวันตกต่างพากันยอมรับ ในความยิ่งใหญ่ ่และอำนาจของพระเจ้า ในการดลบันดาลทุกสิ่งทุกอย่างให้เกิดขึ้น
จนทำให้เกิดความกลัวที่จะคิดหรือกระทำการใดๆ ที่นอกเหนือไปจากกฎเกณฑ์ที่ทางศาสนาได้กำหนดไว้
อย่างไรก็ตามในระยะคริสต์ศตวรรษที่ 14-16 ได้เกิดเหตุการณ์สำคัญที่ส่งผลกระทบต่อความเปลี่ยนแปลงสภาพทางสังคมของยุโรป ไปในทางที่ดี คือ การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ หรือ เรอเนสซองส์ Renaissance
ซึ่งทำให้มีการฟื้นฟูศิลปวิทยาการกรีก-โรมัน ที่หยุดชะงักไปตั้งแต่ยุคมืดขึ้นมาใหม่
และยังส่งผลต่อเนื่องไปสู่การริเริ่มแนวคิด เริ่มมองทุกอย่างในลักษณะของเหตุผล รู้จักใช้สติปัญญาตน พิจารณาแทนความเชื่องมงายอย่างไร้เหตุผล ดังที่เคยปฏิบัติมาในยุคมืด
เริ่มมีความคิดว่ามนุษย์สามารถที่จะพัฒนาตนเองได้ สามารถปรับปรุง ทุกอย่างให้ดีขึ้นได้ด้วยความสามารถตนเอง
สมัยเรอเนสซองส์จึงเป็นสมัยที่ก้าวไปสู่ความเจริญอย่างไม่หยุดยั้งของโลกตะวันตกในระยะต่อมา
ซึ่งขณะนั้นศูนย์กลางความเจริญของทวีปยุโรป ได้ย้ายมาอยู่ ในบริเวณประเทศต่างๆ ที่ก่อตั้งขึ้นในบริเวณยุโรปตะวันตก เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี เป็นต้น
นับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ทวีปยุโรปจึงก้าวเข้าสู่สภาพสังคมแบบสมัยใหม่ ที่สะท้อนให้เห็นการพัฒนา ในด้านความคิดริเริ่มสร้าง สรรค์ และความเป็นตัวของตัวเองของมนุษย์
อันนำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชาวยุโรป เป็นอย่างมาก อาทิ การปฏิวัติศาสนาที่เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 16
โดยนักบวชชาวเยอรมนี มาร์ติน ลูเธอร์ Martin Luthur ค.ศ.1483-1546 ทำให้มีการก่อตั้งนิกายโปรเตสแตนท์ ซึ่งแสดงให้เห็นความกล้าหาญ ในการแสดงออก
ซึ่งการต่อต้านคัดค้านนิกายดั้งเดิม คือ โรมันคาทอลิก ที่เคยมีอิทธิพลอย่างมากมาก่อน
นอกจากนี้ การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 16-17 มีผลทำให้มนุษย์เริ่มค้นคว้าหาความจริงจากธรรมชาติ
มีการพิสูจน์ว่าโลกกลม ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของสุริยจักรวาล ซึ่งมีผลต่อการริเริ่มสำรวจทางทะเล และการแสวงหาอาณานิคมกันอย่างกว้างขวางในคริสต์ศตวรรษที่ 16-17
และทำให้วัฒนธรรมตะวันตกได้แผ่ขยายไปยังดินแดนอาณานิคมต่างๆ ทั้งในทวีปเอเชีย ทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาใต้
รวมทั้งออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า เป็นระยะที่อิทธิพลของยุโรป ทางด้านศิลปวัฒนธรรมได้แผ่ขยายตัวไปทั่วโลก
การปฏิวัติอุตสาหกรรม ที่เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 18 โดยเริ่มต้นจากประเทศอังกฤษก่อน และต่อมาได้แผ่ขยายไปยังประเทศต่างๆ ในยุโรปตะวันตก
ก็นับว่าเป็นผลมาจากการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ที่นำไปสู่ความก้าวหน้า ทางด้านเทคโนโลยีอย่างไม่หยุดยั้ง
และส่งผลกระทบทำให้ทวีปยุโรปเป็นดินแดนที่นำหน้าทวีปอื่นๆ ทั้งทางด้านอุตสาหกรรม และเทคโนโลยีมาจนถึงปัจจุบัน
ดอริก
ไอโอนิก
โครินเธียน
ศิลปะโกธิค (Gothic)
หัวเสาเป็นอารยธรรมของกรีกโบราณ 3 แบบ
ศิลปะโกธิค
เริ่มต้นขึ้นปลายพุทธศตวรรษที่ 17 มีอิทธิพลอยู่ประมาณ 350 ปี
วิหารพาร์เธนอน(parthenon)
โคลอสเซียม(Colosseum)
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปเอเชียและแอฟริกา ตามลำดับ
ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศ โดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน
ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 3 ประเทศ คือ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ประเทศเม็กซิโก ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ
ส่วนอเมริกากลางใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็ก รวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 21 ประเทศ
โดยกรีนแลนด์เป็นประเทศอยู่เหนือที่สุด และประเทศปานามาอยู่ใต้สุด มีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้
สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือได้แก่พื้นที่ตอนเหนือทั้งหมดของดินแดนที่เรียกว่า โลกใหม่ ซีกโลกตะวันตก หรือ ทวีปอเมริกา
อเมริกาเหนือมีส่วนเชื่อมต่อกับทวีปอเมริกาใต้บริเวณคอคอดปานามา ผู้เชี่ยวชาญบางคนกล่าวว่าอเมริกาเหนือไม่ได้เริ่มจากคอคอดปานามา แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโก ซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์
คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ชาวเมืองเจนัว ประเทศอิตาลี ได้รับอาสาพระนางอิสเบลลา แห่งสเปน เดินเรือสำรวจมหาสมุทรแอตแลนติก
เพื่อค้นหาเส้นทางไปยังทวีปเอเชีย เขาเดินทางมาพบทวีปอเมริกาเหนือ ในปี พ.ศ.2035 และเดินทางมาสำรวจอีก 3 ครั้ง ในเวลาต่อมา
โดยเข้าใจว่า ดินแดนที่พบนี้คือทวีปเอเชีย ต่อมา อเมริโก เวสปุคชี ชาวเมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ได้เดินทางมายังดินแดนนี้ตามเส้นทางของโคลัมบัส เพื่อสำรวจให้กับสเปนและโปรตุเกส รวม 4 ครั้ง
ในปี พุทธศักราช 2040, 2042, 2044 และ 2046 รายงานของเขาถูกตีพิมพ์เผยแพร่ ทำให้ชาวยุโรปทราบเรื่องราวทวีปใหม่ดีขึ้น และตั้งชื่อทวีปใหม่ว่า “อเมริกา” เพื่อเป็นเกียรติแก่ อเมริโก เวสปุคชี
พวกที่เดินทางสู่อเมริกา โดยเรือขนาดเล็ก ต่างเบียดเสียดกันอย่างแสนสาหัส ตลอดเวลาการเดินทาง 16 สัปดาห์
ยังชีพด้วยการแบ่งปันส่วนอาหาร หลายครั้งที่ถูกพายุพัดเสียหาย ผู้คนล้มป่วยและตายลงเป็นจำนวนมาก เด็กทารกนั้นยากนักที่จะมีชีวิตรอดได้
ภาพแผ่นดินใหม ่ที่ชาวอาณานิคมได้เห็นคือ ภาพป่าทืบอุดมสมบูรณ์ ด้วยพันธุ์ไม้ อันหมายถึงว่า จะมีฟืน ไม้สำหรับต่อเรือ ปลูกบ้าน ทำสีย้อมผ้า ตลอดจนเครื่องใช้ ต่างๆ อย่างพร้อมสรรพ
ดินแดนที่ถูกค้นพบใหม่ ได้มีการแย่งชิงกันหลายชาติ ชาวสเปนครอบครองอาณานิคมในเขตอเมริกากลาง อเมริกาใต้และหมู่เกาะอินดีสตะวันตก อังกฤษสามารถก่อตั้งอาณานิคมบริเวณรอบๆ อ่าวฮัดสัน และชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศตะวันออกของสหรัฐอเมริกาในปัจจุบัน
ส่วนตอนกลางของอ่าวเม็กซิโกขึ้นไป ตลอดลุ่มแม่น้ำมิสซิสซิปปี ทะเลสาบทั้ง 5 และชายฝั่งตะวันออกของแคนาดา เป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส
มูลเหตุที่ชักจูงให้ผู้คนอพยพมาสู่ทวีปอเมริกา คือความปรารถนาในการสร้างฐานะ ความอยากที่จะเผชิญโชค ความใฝ่ฝันที่จะมีเสรีภาพทางการเมืองและการนับถือศาสนา
ต่อมาอังกฤษทำสงครามกับฝรั่งเศสในทวีปยุโรป ฝรั่งเศสเป็นฝ่ายแพ้สงคราม จึงต้องเสียอาณานิคมในอเมริกาให้กับอังกฤษ ทำให้อาณานิคมของอังกฤษขยายออกไป พร้อมกับการขยายตัวทางวัฒนธรรมเป็นเงาตามตัว
ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลอังกฤษกับชาวอาณานิคมได้เกิดขึ้นเนื่องจากนโยบายการคลังของอังกฤษเรียกเก็บภาษีในรูปแบบต่าง ๆ จากชาวอาณานิคม
เช่น พ.ร.บ. น้ำตาล พ.ศ.2307 ให้เก็บสินค้าน้ำตาลที่ไม่ได้ส่งมาจาก อังกฤษ พ.ร.บ. แสตมป์ พ..ศ. 2308 ให้ปิดแสตมป์สิ่งพิมพ์ทุกชนิด ภาษีที่รัฐบาลอังกฤษเรียกเก็บสูงขึ้นเรื่อยๆ
จนชาวอาณานิคมเกิดความรู้สึกไม่เป็นธรรม และแล้ว ในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2316 ณ เมืองบอสตัน
ชาวอาณานิคม กลุ่มหนึ่งได้ปลอมตัวเป็นชาวอินเดียนแดงลงไปในเรือบรรทุกสินค้าของอังกฤษ แล้วขนหีบหอใบชาโยนทิ้งทะเล เหตุการณ์ครั้งนี้เรียกว่า “บอสตัน ที ปาร์ตี”
ได้กลายเป็นชนวนที่ทำให้เกิดการรวมตัวกัน ของชาวอาณานิคม ต่อต้านรัฐบาลอังกฤษอย่างจริงจัง สงครามการต่อต้านรัฐบาลอังกฤษได้ยืดเยื้อนานถึง 6 ปี
มีการสู้รบเกิดขึ้นทุกแห่ง โดยมี ยอร์ช วอชิงตัน เป็นแม่ทัพและแล้วในวันที่ 4 กรกฏาคม พ..ศ. 2319 สหรัฐอเมริกาได้ประกาศอิสรภาพ ณ เมืองฟิลาเดลเฟีย
โดยโทมัส เจฟเฟอสัน เป็นผู้ร่างคำประกาศอิสรภาพ ไม่เพียงแต่เกิดชาติใหม่เท่านั้น แต่เป็นการประกาศให้โลกรู้ถึง ความสำคัญของสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพ
ในระยะแรกมีเพียง 13 รัฐเท่านั้น ที่อยู่ทางชายฝั่งตะวันออกด้านมหาสมุทรแอตแลนติก ที่รวมกันเข้าเป็นประเทศสหรัฐอเมริกา
หลังจากนั้นก็ขยายอาณาเขตมุ่งสู่ทิศตะวันตก ซึ่งก็ต้องประสบกับ การต่อต้านจากพวกอินเดียนแดงเผ่าต่าง ๆ ที่เป็นชนพื้นเมืองดั่งเดิมอย่างมาก
การขยายตัวของสหรัฐอเมริกาไปทางทิศตะวันตก ในครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 24 โดยวิธีต่าง ๆ ดังนี้คือ
1. โดยการบุกเบิกจับจองที่ดินว่างเปล่า
2. โดยการซื้อ
2.1 รัฐหลุยเซียนา ซื้อจากฝรั่งเศส 15 ล้านดอลลาร์
2.2 รัฐฟลอริดา ซื้อจากสเปน 5 ล้านดอลลาร์
2.3 แคลิฟอร์เนีย ซื้อจากเม็กซิโก 10 ล้านดอลลาร์
2.4 อลาสก้า ซื้อจากรัสเซีย 7.2 ล้านดอลลาร์
3 . โดยการผนวกดินแดนคือรัฐฮาวายและเท็กซัส
4 . โดยการทำสงครามได้แคลิฟอร์เนียและนิวเม็กซิโกจากการรบชนะเม็กซิโก
หลังจากสหรัฐอเมริกาได้ประกาศเอกราช ไม่เป็นอาณานิคมของอังกฤษแล้ว แคนาดาซึ่งเป็นอาณานิคมของอังกฤษเหมือนกัน แต่อยู่ใกล้กับสหรัฐอเมริกา
ทำให้รัฐบาลอังกฤษต้องอะลุ่มออล่วยให้แคนาดาบ้าง ต่อมาภายหลังได้ให้แคนาดาปกครองตนเอง โดยมีฐานะที่เรียกว่า“ดอมิเนียนแห่งแคนาดา”
หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 แล้ว แคนาดาจึงได้รับเอกราช แต่เนื่องจากชาวอาณานิคมในแคนาดา มีความผูกพันกับอังกฤษ รัฐบาลของแคนาดาจึงขออยู่ภายใต้ระบบที่เรียกว่า “ประเทศในเครือจักรภพอังกฤษ” commonwealth
จะเห็นได้ว่าประเทศในกลุ่มแองโกลอเมริกา ได้สร้างชาติของตนให้ยิ่งใหญ่ขึ้นมาไม่นานนัก ทั้งสหรัฐอเมริกาและแคนาดา
แม้จะพยายามสร้างเอกลักษณ์ของตนขึ้นมาเพียงใด ก็ยังคงมีสายใยของความผูกพัน กับประเทศในยุโรปโดยเฉพาะอังกฤษ
ทั้งนี้อาจสืบเนื่องมาจากเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี และประสบการณ์ทางประวัติศาสตร์ ที่มีร่วมกันเป็นระยะเวลานาน
ทวีปอเมริกาเหนือ
เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปเอเชียและแอฟริกา ตามลำดับ
ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศ โดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน
ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 3 ประเทศ คือ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ประเทศเม็กซิโก ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ
ส่วนอเมริกากลางใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็ก รวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 21 ประเทศ
โดยกรีนแลนด์เป็นประเทศอยู่เหนือที่สุด และประเทศปานามาอยู่ใต้สุด มีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้
สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือได้แก่พื้นที่ตอนเหนือทั้งหมดของดินแดนที่เรียกว่า โลกใหม่ ซีกโลกตะวันตก หรือ ทวีปอเมริกา
อเมริกาเหนือมีส่วนเชื่อมต่อกับทวีปอเมริกาใต้บริเวณคอคอดปานามา ผู้เชี่ยวชาญบางคนกล่าวว่าอเมริกาเหนือไม่ได้เริ่มจากคอคอดปานามา แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโก ซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์
คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ชาวเมืองเจนัว ประเทศอิตาลี ได้รับอาสาพระนางอิสเบลลา แห่งสเปน เดินเรือสำรวจมหาสมุทรแอตแลนติก
เพื่อค้นหาเส้นทางไปยังทวีปเอเชีย เขาเดินทางมาพบทวีปอเมริกาเหนือ ในปี พ.ศ.2035 และเดินทางมาสำรวจอีก 3 ครั้ง ในเวลาต่อมา
โดยเข้าใจว่า ดินแดนที่พบนี้คือทวีปเอเชีย ต่อมา อเมริโก เวสปุคชี ชาวเมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ได้เดินทางมายังดินแดนนี้ตามเส้นทางของโคลัมบัส เพื่อสำรวจให้กับสเปนและโปรตุเกส รวม 4 ครั้ง
ในปี พุทธศักราช 2040, 2042, 2044 และ 2046 รายงานของเขาถูกตีพิมพ์เผยแพร่ ทำให้ชาวยุโรปทราบเรื่องราวทวีปใหม่ดีขึ้น และตั้งชื่อทวีปใหม่ว่า “อเมริกา” เพื่อเป็นเกียรติแก่ อเมริโก เวสปุคชี
พวกที่เดินทางสู่อเมริกา โดยเรือขนาดเล็ก ต่างเบียดเสียดกันอย่างแสนสาหัส ตลอดเวลาการเดินทาง 16 สัปดาห์
ยังชีพด้วยการแบ่งปันส่วนอาหาร หลายครั้งที่ถูกพายุพัดเสียหาย ผู้คนล้มป่วยและตายลงเป็นจำนวนมาก เด็กทารกนั้นยากนักที่จะมีชีวิตรอดได้
ภาพแผ่นดินใหม ่ที่ชาวอาณานิคมได้เห็นคือ ภาพป่าทืบอุดมสมบูรณ์ ด้วยพันธุ์ไม้ อันหมายถึงว่า จะมีฟืน ไม้สำหรับต่อเรือ ปลูกบ้าน ทำสีย้อมผ้า ตลอดจนเครื่องใช้ ต่างๆ อย่างพร้อมสรรพ
ดินแดนที่ถูกค้นพบใหม่ ได้มีการแย่งชิงกันหลายชาติ ชาวสเปนครอบครองอาณานิคมในเขตอเมริกากลาง อเมริกาใต้และหมู่เกาะอินดีสตะวันตก อังกฤษสามารถก่อตั้งอาณานิคมบริเวณรอบๆ อ่าวฮัดสัน และชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศตะวันออกของสหรัฐอเมริกาในปัจจุบัน
ส่วนตอนกลางของอ่าวเม็กซิโกขึ้นไป ตลอดลุ่มแม่น้ำมิสซิสซิปปี ทะเลสาบทั้ง 5 และชายฝั่งตะวันออกของแคนาดา เป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส
มูลเหตุที่ชักจูงให้ผู้คนอพยพมาสู่ทวีปอเมริกา คือความปรารถนาในการสร้างฐานะ ความอยากที่จะเผชิญโชค ความใฝ่ฝันที่จะมีเสรีภาพทางการเมืองและการนับถือศาสนา
ต่อมาอังกฤษทำสงครามกับฝรั่งเศสในทวีปยุโรป ฝรั่งเศสเป็นฝ่ายแพ้สงคราม จึงต้องเสียอาณานิคมในอเมริกาให้กับอังกฤษ ทำให้อาณานิคมของอังกฤษขยายออกไป พร้อมกับการขยายตัวทางวัฒนธรรมเป็นเงาตามตัว
ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลอังกฤษกับชาวอาณานิคมได้เกิดขึ้นเนื่องจากนโยบายการคลังของอังกฤษเรียกเก็บภาษีในรูปแบบต่าง ๆ จากชาวอาณานิคม
เช่น พ.ร.บ. น้ำตาล พ.ศ.2307 ให้เก็บสินค้าน้ำตาลที่ไม่ได้ส่งมาจาก อังกฤษ พ.ร.บ. แสตมป์ พ..ศ. 2308 ให้ปิดแสตมป์สิ่งพิมพ์ทุกชนิด ภาษีที่รัฐบาลอังกฤษเรียกเก็บสูงขึ้นเรื่อยๆ
จนชาวอาณานิคมเกิดความรู้สึกไม่เป็นธรรม และแล้ว ในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2316 ณ เมืองบอสตัน
ชาวอาณานิคม กลุ่มหนึ่งได้ปลอมตัวเป็นชาวอินเดียนแดงลงไปในเรือบรรทุกสินค้าของอังกฤษ แล้วขนหีบหอใบชาโยนทิ้งทะเล เหตุการณ์ครั้งนี้เรียกว่า “บอสตัน ที ปาร์ตี”
ได้กลายเป็นชนวนที่ทำให้เกิดการรวมตัวกัน ของชาวอาณานิคม ต่อต้านรัฐบาลอังกฤษอย่างจริงจัง สงครามการต่อต้านรัฐบาลอังกฤษได้ยืดเยื้อนานถึง 6 ปี
มีการสู้รบเกิดขึ้นทุกแห่ง โดยมี ยอร์ช วอชิงตัน เป็นแม่ทัพและแล้วในวันที่ 4 กรกฏาคม พ..ศ. 2319 สหรัฐอเมริกาได้ประกาศอิสรภาพ ณ เมืองฟิลาเดลเฟีย
โดยโทมัส เจฟเฟอสัน เป็นผู้ร่างคำประกาศอิสรภาพ ไม่เพียงแต่เกิดชาติใหม่เท่านั้น แต่เป็นการประกาศให้โลกรู้ถึง ความสำคัญของสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพ
ในระยะแรกมีเพียง 13 รัฐเท่านั้น ที่อยู่ทางชายฝั่งตะวันออกด้านมหาสมุทรแอตแลนติก ที่รวมกันเข้าเป็นประเทศสหรัฐอเมริกา
หลังจากนั้นก็ขยายอาณาเขตมุ่งสู่ทิศตะวันตก ซึ่งก็ต้องประสบกับ การต่อต้านจากพวกอินเดียนแดงเผ่าต่าง ๆ ที่เป็นชนพื้นเมืองดั่งเดิมอย่างมาก
การขยายตัวของสหรัฐอเมริกาไปทางทิศตะวันตก ในครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 24 โดยวิธีต่าง ๆ ดังนี้คือ
1. โดยการบุกเบิกจับจองที่ดินว่างเปล่า
2. โดยการซื้อ
2.1 รัฐหลุยเซียนา ซื้อจากฝรั่งเศส 15 ล้านดอลลาร์
2.2 รัฐฟลอริดา ซื้อจากสเปน 5 ล้านดอลลาร์
2.3 แคลิฟอร์เนีย ซื้อจากเม็กซิโก 10 ล้านดอลลาร์
2.4 อลาสก้า ซื้อจากรัสเซีย 7.2 ล้านดอลลาร์
3 . โดยการผนวกดินแดนคือรัฐฮาวายและเท็กซัส
4 . โดยการทำสงครามได้แคลิฟอร์เนียและนิวเม็กซิโกจากการรบชนะเม็กซิโก
หลังจากสหรัฐอเมริกาได้ประกาศเอกราช ไม่เป็นอาณานิคมของอังกฤษแล้ว แคนาดาซึ่งเป็นอาณานิคมของอังกฤษเหมือนกัน แต่อยู่ใกล้กับสหรัฐอเมริกา
ทำให้รัฐบาลอังกฤษต้องอะลุ่มออล่วยให้แคนาดาบ้าง ต่อมาภายหลังได้ให้แคนาดาปกครองตนเอง โดยมีฐานะที่เรียกว่า“ดอมิเนียนแห่งแคนาดา”
หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 แล้ว แคนาดาจึงได้รับเอกราช แต่เนื่องจากชาวอาณานิคมในแคนาดา มีความผูกพันกับอังกฤษ รัฐบาลของแคนาดาจึงขออยู่ภายใต้ระบบที่เรียกว่า “ประเทศในเครือจักรภพอังกฤษ” commonwealth
จะเห็นได้ว่าประเทศในกลุ่มแองโกลอเมริกา ได้สร้างชาติของตนให้ยิ่งใหญ่ขึ้นมาไม่นานนัก ทั้งสหรัฐอเมริกาและแคนาดา
แม้จะพยายามสร้างเอกลักษณ์ของตนขึ้นมาเพียงใด ก็ยังคงมีสายใยของความผูกพัน กับประเทศในยุโรปโดยเฉพาะอังกฤษ
ทั้งนี้อาจสืบเนื่องมาจากเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี และประสบการณ์ทางประวัติศาสตร์ ที่มีร่วมกันเป็นระยะเวลานาน
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์
การตั้งถิ่นฐานของชนพื้นเมืองก่อนที่ชาวยุโรปจะเข้ายึดครอง เชื่อกันว่าชาวอินเดียนแดงได้อพยพมาจากทวีปเอเชีย
โดยเดินทางข้ามช่องแคบเบริ่ง เร่ร่อนจากทวีปอเมริกาเหนือลงสู่ ทวีปอเมริกาใต้ และมาตั้งหลักแหล่งอย่างมั่นคงบริเวณเทือกเขาแอนดีส
มีหลักฐานที่เด่นชัดคือซากเมือง มาชู ปิกชู Machu Piachu ของอาณาจักรอินคา บริเวณประเทศเปรู
นับตั้งแต่เริ่มมีการตั้งถิ่นฐานยุคแรกเมื่อ 20,000 ปีที่ผ่านมา มนุษย์ดำรงชีพด้วยการเก็บเกี่ยวจากธรรมชาติ ล่าสัตว์ เก็บของป่ากิน
จนถึงยุคการปลูกพืชพรรณและเลี้ยงสัตว์ กลายเป็นการวางรากฐานด้านเกษตรกรรมอย่างเป็นระบบ
รวมทั้งการก่อตั้งหมุ่บ้านและสถานที่ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ตามความเชื่อของมนุษย์ในสมัยนั้น
เมื่อ 8,000 ปีก่อนคริสตศักราช ดินแดนอันกว้างใหญ่ของทวีปอเมริกาใต้ สามารถเพาะปลูกพืชได้หลายชนิด ตามลักษณะภูมิอากาศ เช่น มันฝรั่ง ฮอลลูโก กวีนัว กีวีชา ฟักทอง ฝ้ายพริก ข้าวโพด ฯลฯ
ในยุคเปรูโบราณ ลามา อัลปาก้า และวิกูญา เป็นสัญลักษณ์ของความสมบูรณ์ สัตว์เหล่านี้ให้เส้นใยสำหรับเสื้อผ้าอันอบอุ่น เนื้อสัตว์สำหรับประกอบอาหาร หนังและกระดูกสำหรับทำเครื่องมือต่าง ๆ หยดน้ำมันสำหรับให้ความร้อนและพลังงาน และทำให้ผู้คนขนส่งสินค้าไปในระยะไกล ๆ ได้
เมื่อ 7,000 ปีก่อนคริสตศักราช สัตว์เหล่านี้ทำให้คนสามารถอยู่อาศัยในพื้นที่เปราะบางที่สุดของเทือกเขาแอนดีส ซึ่งอยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลกว่า 4,200 เมตร
ที่ซึ่งยากแก่การทำสวนไร่นาและชีวิตความเป็นอยู่ขึ้นกับการเคลื่อนที่ไปมา ทำให้เข้าถึงระบบนิเวศวิทยาที่หลากหลาย พร้อมทั้งแหล่งทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์ที่เติมให้สมบูรณ์
ขณะที่วัฒนธรรมภาคพื้นค่อยๆ รวมตัวเข้าด้วยกัน เทคนิคใหม่ๆ ก็เกิดขึ้นมา เช่น การทอเส้นใย การทำโลหะผสมและการทำอัญมณี ทำให้วัฒนธรรมระดับสูงเกิดขึ้น เช่น
ชาแวง ( 1,000 ปีก่อนคริสตศักราช ) ,
พารากัส ( 700 ปีก่อนคริสตศักราช ) ,
โมช ( 100 ปีหลังคริสตศักราช ),
นาซก้า ( 300 ปีหลังคริสตศักราช ),
วารี ( 600 ปีหลังคริสศักราช ),
ชิมู ( 700 ปีหลังคริสตศักราช ),
ชาชาโปยาส ( 800 ปีหลังคริสตศักราช )
และอาณาจักรอินคา 1,500 ปีหลังคริสตศักราช
ชาวอินคาบูชาเทพเจ้าแห่งผืนดินปาชามามาและเทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์อินติ อำนาจอธิปไตยของชาวอินคาคือ ผู้นำสูงสุดของทาวันทินซูยู (อาณาจักรอินคา) เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์และเป็นสิ่งซึ่งได้รับตกทอดมาจากอินติ
ในยุคที่เฟื่องฟูสูงสุดชาวอินคาได้สร้างงานทางสถาปัตยกรรมและวิศวกรรมที่น่าประทับใจ ตัวอย่างที่สำคัญที่สุดที่สามารถพบเห็นได้ในปัจจุบันนี้คือซากเมืองคุชโก เมืองหลวงของอาณาจักรอินคาแห่งนี้และพื้นที่รอบ ๆ เช่น ป้อมซัคเซย์วาแมน และป้อมมาชูปิกชู
เมื่อคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส Christopher Columbus ชาวอิตาเลียน เดินทางสำรวจพบทวีปอเมริกา ใน ค.ศ. 1492 แล้ว ชาวยุโรปก็สนใจที่จะแล่นเรือมาทางทิศตะวันตกเพิ่มมากขึ้น
ในปี ค.ศ. 1499 นักเดินเรือชาวอิตาลียน ชื่อ อเมริโก เวสปุกชี Americo Vespucci เดินทางสำรวจให้กับสเปน ได้แล่นเรือสำรวจชายฝั่งประเทศเวเนสุเอลา ทะเลสาบมาราไคโบ
พบเห็นบ้านเรือนของชนพื้นเมืองก่อตั้งอยู่ริมน้ำ คล้ายหมู่บ้านของชาวเวนิส จึงเรียกดินแดนที่เขาพบนี้ว่า เวเนสุเอลา ซึ่งหมายถึง เวนิสน้อย
ในปี ค.ศ. 1500 นักเดินเรือชาวโปรตุเกส ชื่อ เปโดร อัลวาเรส คาบรัล Pedro Alvares Cabral ได้แล่นเรือสำรวจชายฝั่งทางด้านตะวันออกของประเทศบราซิล
หลังจากนั้นชาวโปรตุเกสก็เข้ายึดครองทางด้านตะวันออกของทวีป ส่วนสเปนก็เข้าสำรวจทางด้านตะวันตกจากภาคเหนือสู่ภาคใต้ ซึ่งในที่สุดได้นำไปสู่การก่อตั้งอาณานิคมของชาวสเปนหลายแห่ง
เริ่มตั้งแต่ ค.ศ. 1492 โคลัมบัสได้รับการแต่งตั้งจาก พระนางเจ้าอีสเบลลา แห่งสเปน ให้เป็นผู้สำเร็จราชการครอบครองหมู่เกาะอินดิสตะวันตก
ค.ศ. 1519 เฮอร์นาน คอร์เตส Hernan Cortes ได้พิชิตอาณาจักรแอชเต็ก ในเม็กซิโก
ค.ศ. 1531 ฟรานซีสโก ปิซาโร Francisco Pizarro เข้าสำรวจพบอาณาจักรอินคา และทำสงครามกับชาวอินคา นาน 5 ปีสามารถปราบอาณาจักรอินคาได้
ค.ศ. 1541 เปโดร เดอ วัลดิเวีย Pedro de Valdivia นำทหารสเปนเข้าครอบครอง ดินแดนชิลีได้สำเร็จ
ดินแดนส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกาใต้ตกเป็นอาณานิคมของสเปนและโปรตุเกส ยกเว้น
กายอานาและฟอร์กแลนด์ เป็นของสหราชอาณาจักร
เฟรนซ์กิอานา เป็นของฝรั่งเศส
สุรินาเม เป็นของเนเธอร์แลนด์
การประกาศเอกราชของประเทศต่าง ๆ ในทวีปอเมริกาใต้
ด้วยเหตุที่อาณานิคมในทวีปอเมริกาเหนือได้ประกาศเอกราช ตั้งเป็นประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา
จึงเป็นตัวอย่างที่ชาวอาณานิคมในทวีปอเมริกาใต้ต้องการเอกราช โดยเริ่มจากชาวอาณานิคมในเมืองคารากัส ได้ก่อการกบฏขึ้นในปี ค.ศ. 1810 ขับไล่แม่ทัพของสเปน ออกไป และตั้งคณะกรรมการขึ้นปกครองตนเอง
โดยมีผู้นำในอาณานิคมหลายคน ที่ต้องการปลดปล่อยอาณานิคมในทวีปอเมริกาใต้ให้เป็นอิสระ เช่น
ในปี ค.ศ. 1818 โฮเซ เดอ ซาน มาร์ติน Jose de San Martin เป็นผู้นำในการปลดปล่อย ในอาร์เจนตินาและชิลี ให้เป็นเอกราช
ในปี ค.ศ. 1821 ซิมอน โบลิวาร์ Simon Bolivar เป็นผู้นำในการปลดปล่อย เอกวาดอร์ และเวเนสุเอลา ได้สำเร็จ
ในปี ค.ศ. 1822 โอรสของกษัตริย์แห่งโปรตุเกส ก็ประกาศบราซิลให้เป็นเอกราช โดยมีพระองค์เป็นปฐมกษัตริย์ ค.ศ. 1889 ทหารเข้ายึดอำนาจล้มระบอบกษัตริย์เปลี่ยนเป็นสาธารณรัฐ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์
การตั้งถิ่นฐานของชนพื้นเมืองก่อนที่ชาวยุโรปจะเข้ายึดครอง เชื่อกันว่าชาวอินเดียนแดงได้อพยพมาจากทวีปเอเชีย
โดยเดินทางข้ามช่องแคบเบริ่ง เร่ร่อนจากทวีปอเมริกาเหนือลงสู่ ทวีปอเมริกาใต้ และมาตั้งหลักแหล่งอย่างมั่นคงบริเวณเทือกเขาแอนดีส
มีหลักฐานที่เด่นชัดคือซากเมือง มาชู ปิกชู Machu Piachu ของอาณาจักรอินคา บริเวณประเทศเปรู
นับตั้งแต่เริ่มมีการตั้งถิ่นฐานยุคแรกเมื่อ 20,000 ปีที่ผ่านมา มนุษย์ดำรงชีพด้วยการเก็บเกี่ยวจากธรรมชาติ ล่าสัตว์ เก็บของป่ากิน
จนถึงยุคการปลูกพืชพรรณและเลี้ยงสัตว์ กลายเป็นการวางรากฐานด้านเกษตรกรรมอย่างเป็นระบบ
รวมทั้งการก่อตั้งหมุ่บ้านและสถานที่ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ตามความเชื่อของมนุษย์ในสมัยนั้น
เมื่อ 8,000 ปีก่อนคริสตศักราช ดินแดนอันกว้างใหญ่ของทวีปอเมริกาใต้ สามารถเพาะปลูกพืชได้หลายชนิด ตามลักษณะภูมิอากาศ เช่น มันฝรั่ง ฮอลลูโก กวีนัว กีวีชา ฟักทอง ฝ้ายพริก ข้าวโพด ฯลฯ
ในยุคเปรูโบราณ ลามา อัลปาก้า และวิกูญา เป็นสัญลักษณ์ของความสมบูรณ์ สัตว์เหล่านี้ให้เส้นใยสำหรับเสื้อผ้าอันอบอุ่น เนื้อสัตว์สำหรับประกอบอาหาร หนังและกระดูกสำหรับทำเครื่องมือต่าง ๆ หยดน้ำมันสำหรับให้ความร้อนและพลังงาน และทำให้ผู้คนขนส่งสินค้าไปในระยะไกล ๆ ได้
เมื่อ 7,000 ปีก่อนคริสตศักราช สัตว์เหล่านี้ทำให้คนสามารถอยู่อาศัยในพื้นที่เปราะบางที่สุดของเทือกเขาแอนดีส ซึ่งอยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลกว่า 4,200 เมตร
ที่ซึ่งยากแก่การทำสวนไร่นาและชีวิตความเป็นอยู่ขึ้นกับการเคลื่อนที่ไปมา ทำให้เข้าถึงระบบนิเวศวิทยาที่หลากหลาย พร้อมทั้งแหล่งทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์ที่เติมให้สมบูรณ์
ขณะที่วัฒนธรรมภาคพื้นค่อยๆ รวมตัวเข้าด้วยกัน เทคนิคใหม่ๆ ก็เกิดขึ้นมา เช่น การทอเส้นใย การทำโลหะผสมและการทำอัญมณี ทำให้วัฒนธรรมระดับสูงเกิดขึ้น เช่น
ชาแวง ( 1,000 ปีก่อนคริสตศักราช ) ,
พารากัส ( 700 ปีก่อนคริสตศักราช ) ,
โมช ( 100 ปีหลังคริสตศักราช ),
นาซก้า ( 300 ปีหลังคริสตศักราช ),
วารี ( 600 ปีหลังคริสศักราช ),
ชิมู ( 700 ปีหลังคริสตศักราช ),
ชาชาโปยาส ( 800 ปีหลังคริสตศักราช )
และอาณาจักรอินคา 1,500 ปีหลังคริสตศักราช
ชาวอินคาบูชาเทพเจ้าแห่งผืนดินปาชามามาและเทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์อินติ อำนาจอธิปไตยของชาวอินคาคือ ผู้นำสูงสุดของทาวันทินซูยู (อาณาจักรอินคา) เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์และเป็นสิ่งซึ่งได้รับตกทอดมาจากอินติ
ในยุคที่เฟื่องฟูสูงสุดชาวอินคาได้สร้างงานทางสถาปัตยกรรมและวิศวกรรมที่น่าประทับใจ ตัวอย่างที่สำคัญที่สุดที่สามารถพบเห็นได้ในปัจจุบันนี้คือซากเมืองคุชโก เมืองหลวงของอาณาจักรอินคาแห่งนี้และพื้นที่รอบ ๆ เช่น ป้อมซัคเซย์วาแมน และป้อมมาชูปิกชู
เมื่อคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส Christopher Columbus ชาวอิตาเลียน เดินทางสำรวจพบทวีปอเมริกา ใน ค.ศ. 1492 แล้ว ชาวยุโรปก็สนใจที่จะแล่นเรือมาทางทิศตะวันตกเพิ่มมากขึ้น
ในปี ค.ศ. 1499 นักเดินเรือชาวอิตาลียน ชื่อ อเมริโก เวสปุกชี Americo Vespucci เดินทางสำรวจให้กับสเปน ได้แล่นเรือสำรวจชายฝั่งประเทศเวเนสุเอลา ทะเลสาบมาราไคโบ
พบเห็นบ้านเรือนของชนพื้นเมืองก่อตั้งอยู่ริมน้ำ คล้ายหมู่บ้านของชาวเวนิส จึงเรียกดินแดนที่เขาพบนี้ว่า เวเนสุเอลา ซึ่งหมายถึง เวนิสน้อย
ในปี ค.ศ. 1500 นักเดินเรือชาวโปรตุเกส ชื่อ เปโดร อัลวาเรส คาบรัล Pedro Alvares Cabral ได้แล่นเรือสำรวจชายฝั่งทางด้านตะวันออกของประเทศบราซิล
หลังจากนั้นชาวโปรตุเกสก็เข้ายึดครองทางด้านตะวันออกของทวีป ส่วนสเปนก็เข้าสำรวจทางด้านตะวันตกจากภาคเหนือสู่ภาคใต้ ซึ่งในที่สุดได้นำไปสู่การก่อตั้งอาณานิคมของชาวสเปนหลายแห่ง
เริ่มตั้งแต่ ค.ศ. 1492 โคลัมบัสได้รับการแต่งตั้งจาก พระนางเจ้าอีสเบลลา แห่งสเปน ให้เป็นผู้สำเร็จราชการครอบครองหมู่เกาะอินดิสตะวันตก
ค.ศ. 1519 เฮอร์นาน คอร์เตส Hernan Cortes ได้พิชิตอาณาจักรแอชเต็ก ในเม็กซิโก
ค.ศ. 1531 ฟรานซีสโก ปิซาโร Francisco Pizarro เข้าสำรวจพบอาณาจักรอินคา และทำสงครามกับชาวอินคา นาน 5 ปีสามารถปราบอาณาจักรอินคาได้
ค.ศ. 1541 เปโดร เดอ วัลดิเวีย Pedro de Valdivia นำทหารสเปนเข้าครอบครอง ดินแดนชิลีได้สำเร็จ
ดินแดนส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกาใต้ตกเป็นอาณานิคมของสเปนและโปรตุเกส ยกเว้น
กายอานาและฟอร์กแลนด์ เป็นของสหราชอาณาจักร
เฟรนซ์กิอานา เป็นของฝรั่งเศส
สุรินาเม เป็นของเนเธอร์แลนด์
การประกาศเอกราชของประเทศต่าง ๆ ในทวีปอเมริกาใต้
ด้วยเหตุที่อาณานิคมในทวีปอเมริกาเหนือได้ประกาศเอกราช ตั้งเป็นประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา
จึงเป็นตัวอย่างที่ชาวอาณานิคมในทวีปอเมริกาใต้ต้องการเอกราช โดยเริ่มจากชาวอาณานิคมในเมืองคารากัส ได้ก่อการกบฏขึ้นในปี ค.ศ. 1810 ขับไล่แม่ทัพของสเปน ออกไป และตั้งคณะกรรมการขึ้นปกครองตนเอง
โดยมีผู้นำในอาณานิคมหลายคน ที่ต้องการปลดปล่อยอาณานิคมในทวีปอเมริกาใต้ให้เป็นอิสระ เช่น
ในปี ค.ศ. 1818 โฮเซ เดอ ซาน มาร์ติน Jose de San Martin เป็นผู้นำในการปลดปล่อย ในอาร์เจนตินาและชิลี ให้เป็นเอกราช
ในปี ค.ศ. 1821 ซิมอน โบลิวาร์ Simon Bolivar เป็นผู้นำในการปลดปล่อย เอกวาดอร์ และเวเนสุเอลา ได้สำเร็จ
ในปี ค.ศ. 1822 โอรสของกษัตริย์แห่งโปรตุเกส ก็ประกาศบราซิลให้เป็นเอกราช โดยมีพระองค์เป็นปฐมกษัตริย์ ค.ศ. 1889 ทหารเข้ายึดอำนาจล้มระบอบกษัตริย์เปลี่ยนเป็นสาธารณรัฐ
อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตก
อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตก
วัฒนธรรมตะวันออกและตะวันตกที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย การติดต่อกับชาวต่างชาติของคนไทยในยุคสมัยต่างๆ มีผลต่อสังคมไทยหลายด้าน วัฒนธรรมตะวันออกและตะวันตก ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทย
โดยวัฒนธรรมบางอย่างได้ถูกปรับใช้ให้เหมาะสมกับวิถีชีวิตและประเพณีดั้งเดิมของคนไทย ขณะที่วัฒนธรรมบางอย่างรับมาใช้โดยตรง
1. วัฒนธรรมตะวันออกที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย อิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันออกต่อสังคมไทย มีมาตั้งแต่ก่อนการตั้งอาณาจักรของคนไทย เช่น สุโขทัย ล้านนา ซึ่งมีทั้งวัฒนธรรมที่รับจากอินเดีย จีน เปอร์เซีย เพื่อนบ้าน เช่น เขมร มอญ พม่า โดยผ่านการติดต่อค้าขาย การรับราชการของชาวต่างชาติ การทูต และการทำสงคราม
สำหรับตัวอย่างอิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันออกที่มีต่อสังคมไทยมีดังนี้
1. ด้านอักษรศาสตร์ เช่น ภาษาไทยที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นในสมัยสุโขทัยได้รับอิทธิพลจากภาษาขอม รับภาษาบาลี ภาษาสันสกฤตจากหลายทางทั้งผ่านพระพุทธศาสนา ผ่านศาสนาพราหมณ์-ฮินดู จากอินเดีย เขมร นอกจากนี้ ในปัจจุบันภาษาจีน ญี่ปุ่น เกาหลี ก็ได้มีอิทธิพลต่อสังคมไทยมากขึ้น
2. ด้านกฎหมาย มีการรับรากฐานกฎหมาย มีการรับรากฐานกฎหมายอินเดีย ได้แก่ คัมภีร์พระธรรมศาสตร์ โดยรับผ่านมาจากหัวเมืองมอญอีกต่อหนึ่ง และกลายเป็นหลักของกฎหมายไทยสมัยอยุธยาและใช้มาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
3. ด้านศาสนา พระพุทธศาสนาเผยแผ่อยู่ในผืนแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนานแล้ว ดังจะเห็นได้จากแว่นแคว้นโบราณ เช่น ทวารวดี หริภุญชัยได้นับถือพระพุทธศาสนา หรือสุโขทัย รับพระพุทธศาสนาจากนครศรีธรรมราชและได้ถ่ายทอดให้แก่อาณาจักรอื่น ๆ ซึ่งมีผลต่อการดำเนินชีวิตและการสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมของคนไทยตลอดมา นอกจากนี้ คนไทยยังได้รับอิทธิพลในการนับถือศาสนาอิสลามที่พ่อค้าชาวมุสลิมนำมาเผยแผ่ รวมทั้งคริสต์ศาสนาที่คณะมิชชันนารีนำเข้ามาเผยแผ่ในเมืองไทยนับตั้งแต่สมัยอยุธยาเป็นต้นมา
4. ด้านวรรณกรรม ในสมัยอยุธยาได้รับวรรณกรรมเรื่องรามเกรียรติ์ มาจากเรื่องรามายณะของอินเดีย เรื่องอิเหนาจากชวา ในสมัยรัตนโกสินทร์ได้มีการแปลวรรณกรรมจีน เช่น สามก๊ก ไซอิ๋ว วรรณกรรมของชาติอื่น ๆ เช่น ราชาธิราชของชาวมอญ อาหรับราตรีของเปอร์เซีย เป็นต้น
5. ด้านศิลปวิทยาการ เช่น เชื่อกันว่าชาวสุโขทัยได้รับวิธีการทำเครื่องสังคโลกมาจากช่างชาวจีน รวมทั้งรูปแบบสถาปัตยกรรมเนื่องในพระพุทธศาสนาจากอินเดีย ศรีลังกา
6. ด้วยวิถีการดำเนินชีวิต เช่น คนไทยสมัยก่อนนิยมกินหมากพลู รับวิธีการปรุงอาหารที่ใส่เครื่องแกง เครื่องเทศจากอินเดีย รับวิธีการปรุงอาหารแบบผัด การใช้กะทะ การใช้น้ำมันจากจีน ในด้านการแต่งกาย คนไทยสมัยก่อนนุ่งโจงกระเบนแบบชาวอินเดีย เป็นต้น
2. วัฒนธรรมตะวันตกที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย ไทยได้รับวัฒนธรรมตะวันตกหลายด้านมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ในระยะแรกเป็นความก้าวหน้าด้านการทหาร สถาปัตยกรรม ศิลปวิทยาการ ในสมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชกาลที่ 3 เป็นต้นมา คนไทยรับวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น ทำให้มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงวิถีของคนไทยมาจนถึงปัจจุบัน
ดัวอย่างวัฒนธรรมตะวันตกที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทยที่สำคัญมีดังนี้
1. ด้านการทหาร เป็นวัฒนธรรมตะวันตกแรก ๆ ที่คนไทยรับมาตั้งแต่อยุธยา โดยซื้ออาวุธปืนมาใช้ มีการสร้างป้อมปราการตามแบบตะวันตก เช่น ป้อมวิไชยประสิทธิ์ที่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ออกแบบโดยวิศวกรชาวฝรั่งเศส ในสมัยรัตนโกสินทร์มีการจ้างชาวอังกฤษเข้ามารับราชการเพื่อทำหน้าที่ให้คำปรึกษาด้านการทหาร มีการตั้งโรงเรียนนายร้อย การฝึกหัดทหารแบบตะวันตก
2. ด้ารการศึกษา ในสมัยรัชกาลที่ 3 มีชนชั้นนำจำนวนหนึ่ง เช่น พระอนุชาและขุนนางได้เรียนภาษาอังกฤษและวิทยาการตะวันตก ในสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงจ้างครูต่างชาติมาสอนภาษาอังกฤษและความรู้แบบตะวันตกในราชสำนัก
ในสมัยรัชการลที่ 5 มีการตั้งโรงเรียนแผนใหม่ ตั้งกระทรวงธรรมการขึ้นมาจัดการศึกษาแบบใหม่ ทรงส่งพระราชโอรสและนักเรียนไทยไปศึกษาที่ประเทศต่าง ๆ เช่น โรงเรียนแพทย์ โรงเรียนกฎหมาย ในสมัยรัชกาลที่ 6 มีพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับและการตั้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3. ด้านวิทยาการ เช่น ความรู้ทางด้านดาราศาสตร์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้ความรู้ทางดาราศาสตร์จนสามารถคำนวณการเกิดสุริยุปราคาได้อย่างถูกต้อง ความรู้ทางการแพทย์สมัยใหม่ ซึ่งเริ่มในสม้ยรัชกาลที่ 3 ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการจัดตั้งโรงพยาบาล โรงเรียนฝึกหัดแพทย์และพยาบาล ความรู้ทางการแพทย์แบบตะวันตกนี้ได้เป็นพื้นฐานทางการแพทย์และสาธารณสุขไทยในปัจจุบัน
ด้านการพิมพ์ เริ่มจากการพิมพ์หนังสือพิมพ์รายปักษ์ภาษาไทยขึ้นเป็นครั้งแรกใน พ.ศ. 2387 ชื่อ “บางกอกรีคอร์เดอร์” การพิมพ์หนังสือทำให้ความรู้ต่าง ๆ แพร่หลายมากขึ้น ในด้านการสื่อสารคมนาคม เช่น การสร้างถนน สะพาน โทรทัศน์ โทรศัพท์ กล้องถ่ายรูป รถยนต์ รถไฟฟ้า เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ซึ่งช่วยอำนวยความสะดวกสบายให้แก่คนไทยเป็นอย่างมาก
4. ด้านแนวคิดแบบตะวันตก การศึกษาแบบตะวันตกทำให้แนวคิดทางการปกครอง เช่น ประชาธิปไตย คอมมิวนิสต์ สาธารณรัฐแพร่เข้ามาในไทย และมีความต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง นอกจากนี้ วรรณกรรมตะวันตกจำนวนมากก็ได้มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนรูปแบบการประพันธ์จากร้อยกรองเป็นร้อยแก้ว และการสร้างแนวคิดใหม่ ๆ ในสังคมไทย เช่น การเข้าใจวรรณกรรมรูปแบบนวนิยาย เช่น งานเขียนของดอกไม้สด ศรีบูรพา
5. ด้านวิถีการดำเนินชีวิต การรับวัฒนธรรมตะวันตกและสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ มาใช้ ทำให้วิถีการดำเนินชีวิตของคนไทยแบบเดิมเปลี่ยนแปลงไป เช่น การใช้ช้อนส้อมรับประทานอาหารแทนการใช้มือ การนั่งเก้าอี้แทนการนั่งพื้น การใช้เครื่องแต่งกายแบบตะวันตกหรือปรับจากตะวันตก การปลูกสร้างพระราชวัง อาคารบ้านเรือนแบบตะวันตก ตลอดจนนำกีฬาของชาวตะวันตก เช่น ฟุตบอล กอล์ฟ เข้ามาเผยแพร่ เป็นต้น
วัฒนธรรมตะวันออกและตะวันตกที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย การติดต่อกับชาวต่างชาติของคนไทยในยุคสมัยต่างๆ มีผลต่อสังคมไทยหลายด้าน วัฒนธรรมตะวันออกและตะวันตก ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทย
โดยวัฒนธรรมบางอย่างได้ถูกปรับใช้ให้เหมาะสมกับวิถีชีวิตและประเพณีดั้งเดิมของคนไทย ขณะที่วัฒนธรรมบางอย่างรับมาใช้โดยตรง
1. วัฒนธรรมตะวันออกที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย อิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันออกต่อสังคมไทย มีมาตั้งแต่ก่อนการตั้งอาณาจักรของคนไทย เช่น สุโขทัย ล้านนา ซึ่งมีทั้งวัฒนธรรมที่รับจากอินเดีย จีน เปอร์เซีย เพื่อนบ้าน เช่น เขมร มอญ พม่า โดยผ่านการติดต่อค้าขาย การรับราชการของชาวต่างชาติ การทูต และการทำสงคราม
สำหรับตัวอย่างอิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันออกที่มีต่อสังคมไทยมีดังนี้
1. ด้านอักษรศาสตร์ เช่น ภาษาไทยที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นในสมัยสุโขทัยได้รับอิทธิพลจากภาษาขอม รับภาษาบาลี ภาษาสันสกฤตจากหลายทางทั้งผ่านพระพุทธศาสนา ผ่านศาสนาพราหมณ์-ฮินดู จากอินเดีย เขมร นอกจากนี้ ในปัจจุบันภาษาจีน ญี่ปุ่น เกาหลี ก็ได้มีอิทธิพลต่อสังคมไทยมากขึ้น
2. ด้านกฎหมาย มีการรับรากฐานกฎหมาย มีการรับรากฐานกฎหมายอินเดีย ได้แก่ คัมภีร์พระธรรมศาสตร์ โดยรับผ่านมาจากหัวเมืองมอญอีกต่อหนึ่ง และกลายเป็นหลักของกฎหมายไทยสมัยอยุธยาและใช้มาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
3. ด้านศาสนา พระพุทธศาสนาเผยแผ่อยู่ในผืนแผ่นดินไทยมาเป็นเวลายาวนานแล้ว ดังจะเห็นได้จากแว่นแคว้นโบราณ เช่น ทวารวดี หริภุญชัยได้นับถือพระพุทธศาสนา หรือสุโขทัย รับพระพุทธศาสนาจากนครศรีธรรมราชและได้ถ่ายทอดให้แก่อาณาจักรอื่น ๆ ซึ่งมีผลต่อการดำเนินชีวิตและการสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมของคนไทยตลอดมา นอกจากนี้ คนไทยยังได้รับอิทธิพลในการนับถือศาสนาอิสลามที่พ่อค้าชาวมุสลิมนำมาเผยแผ่ รวมทั้งคริสต์ศาสนาที่คณะมิชชันนารีนำเข้ามาเผยแผ่ในเมืองไทยนับตั้งแต่สมัยอยุธยาเป็นต้นมา
4. ด้านวรรณกรรม ในสมัยอยุธยาได้รับวรรณกรรมเรื่องรามเกรียรติ์ มาจากเรื่องรามายณะของอินเดีย เรื่องอิเหนาจากชวา ในสมัยรัตนโกสินทร์ได้มีการแปลวรรณกรรมจีน เช่น สามก๊ก ไซอิ๋ว วรรณกรรมของชาติอื่น ๆ เช่น ราชาธิราชของชาวมอญ อาหรับราตรีของเปอร์เซีย เป็นต้น
5. ด้านศิลปวิทยาการ เช่น เชื่อกันว่าชาวสุโขทัยได้รับวิธีการทำเครื่องสังคโลกมาจากช่างชาวจีน รวมทั้งรูปแบบสถาปัตยกรรมเนื่องในพระพุทธศาสนาจากอินเดีย ศรีลังกา
6. ด้วยวิถีการดำเนินชีวิต เช่น คนไทยสมัยก่อนนิยมกินหมากพลู รับวิธีการปรุงอาหารที่ใส่เครื่องแกง เครื่องเทศจากอินเดีย รับวิธีการปรุงอาหารแบบผัด การใช้กะทะ การใช้น้ำมันจากจีน ในด้านการแต่งกาย คนไทยสมัยก่อนนุ่งโจงกระเบนแบบชาวอินเดีย เป็นต้น
2. วัฒนธรรมตะวันตกที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย ไทยได้รับวัฒนธรรมตะวันตกหลายด้านมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ในระยะแรกเป็นความก้าวหน้าด้านการทหาร สถาปัตยกรรม ศิลปวิทยาการ ในสมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชกาลที่ 3 เป็นต้นมา คนไทยรับวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น ทำให้มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงวิถีของคนไทยมาจนถึงปัจจุบัน
ดัวอย่างวัฒนธรรมตะวันตกที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทยที่สำคัญมีดังนี้
1. ด้านการทหาร เป็นวัฒนธรรมตะวันตกแรก ๆ ที่คนไทยรับมาตั้งแต่อยุธยา โดยซื้ออาวุธปืนมาใช้ มีการสร้างป้อมปราการตามแบบตะวันตก เช่น ป้อมวิไชยประสิทธิ์ที่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ออกแบบโดยวิศวกรชาวฝรั่งเศส ในสมัยรัตนโกสินทร์มีการจ้างชาวอังกฤษเข้ามารับราชการเพื่อทำหน้าที่ให้คำปรึกษาด้านการทหาร มีการตั้งโรงเรียนนายร้อย การฝึกหัดทหารแบบตะวันตก
2. ด้ารการศึกษา ในสมัยรัชกาลที่ 3 มีชนชั้นนำจำนวนหนึ่ง เช่น พระอนุชาและขุนนางได้เรียนภาษาอังกฤษและวิทยาการตะวันตก ในสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงจ้างครูต่างชาติมาสอนภาษาอังกฤษและความรู้แบบตะวันตกในราชสำนัก
ในสมัยรัชการลที่ 5 มีการตั้งโรงเรียนแผนใหม่ ตั้งกระทรวงธรรมการขึ้นมาจัดการศึกษาแบบใหม่ ทรงส่งพระราชโอรสและนักเรียนไทยไปศึกษาที่ประเทศต่าง ๆ เช่น โรงเรียนแพทย์ โรงเรียนกฎหมาย ในสมัยรัชกาลที่ 6 มีพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับและการตั้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3. ด้านวิทยาการ เช่น ความรู้ทางด้านดาราศาสตร์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้ความรู้ทางดาราศาสตร์จนสามารถคำนวณการเกิดสุริยุปราคาได้อย่างถูกต้อง ความรู้ทางการแพทย์สมัยใหม่ ซึ่งเริ่มในสม้ยรัชกาลที่ 3 ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการจัดตั้งโรงพยาบาล โรงเรียนฝึกหัดแพทย์และพยาบาล ความรู้ทางการแพทย์แบบตะวันตกนี้ได้เป็นพื้นฐานทางการแพทย์และสาธารณสุขไทยในปัจจุบัน
ด้านการพิมพ์ เริ่มจากการพิมพ์หนังสือพิมพ์รายปักษ์ภาษาไทยขึ้นเป็นครั้งแรกใน พ.ศ. 2387 ชื่อ “บางกอกรีคอร์เดอร์” การพิมพ์หนังสือทำให้ความรู้ต่าง ๆ แพร่หลายมากขึ้น ในด้านการสื่อสารคมนาคม เช่น การสร้างถนน สะพาน โทรทัศน์ โทรศัพท์ กล้องถ่ายรูป รถยนต์ รถไฟฟ้า เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ซึ่งช่วยอำนวยความสะดวกสบายให้แก่คนไทยเป็นอย่างมาก
4. ด้านแนวคิดแบบตะวันตก การศึกษาแบบตะวันตกทำให้แนวคิดทางการปกครอง เช่น ประชาธิปไตย คอมมิวนิสต์ สาธารณรัฐแพร่เข้ามาในไทย และมีความต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง นอกจากนี้ วรรณกรรมตะวันตกจำนวนมากก็ได้มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนรูปแบบการประพันธ์จากร้อยกรองเป็นร้อยแก้ว และการสร้างแนวคิดใหม่ ๆ ในสังคมไทย เช่น การเข้าใจวรรณกรรมรูปแบบนวนิยาย เช่น งานเขียนของดอกไม้สด ศรีบูรพา
5. ด้านวิถีการดำเนินชีวิต การรับวัฒนธรรมตะวันตกและสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ มาใช้ ทำให้วิถีการดำเนินชีวิตของคนไทยแบบเดิมเปลี่ยนแปลงไป เช่น การใช้ช้อนส้อมรับประทานอาหารแทนการใช้มือ การนั่งเก้าอี้แทนการนั่งพื้น การใช้เครื่องแต่งกายแบบตะวันตกหรือปรับจากตะวันตก การปลูกสร้างพระราชวัง อาคารบ้านเรือนแบบตะวันตก ตลอดจนนำกีฬาของชาวตะวันตก เช่น ฟุตบอล กอล์ฟ เข้ามาเผยแพร่ เป็นต้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)